ตอนนี้ทำ SPC ภายในแผนกตนเองอยู่ ซึ่งเป็นแค่การวัด Dimension ของชิ้นงานปกติ
โดยใช้ Dial gauge และ เครื่อง profile โดยบางชิ้นงานก็วัดความหนาบางชิ้นงานก็วัดระยะ SC
ตอนนี้ใช้แค่ Control chart มีค่า Spec. เป็นเส้นกลาง มีเส้น UCL LCL เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ
ว่างานแต่ละ Lot ผ่านหรือไม่ โดยทุกค่าที่วัดได้ในแต่ละ Lot จะต้องอยู่ในค่าควบคุมของเส้น UCL LCL
อยากถามว่า..ทำแบบนี้เหมาะสมหรือยัง...และต้องทำอะไรเพิ่มไหม เช่น ทำ Cpk,Ppk,GR&R ของพนักงานที่เช็คงาน
ช่วยแสดงความคิดเห็นด้วยครับ...เมล์คุยกันได้ที่ w_pimpakan@hotmail.com ขอบคุณครับ
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

SPC แบบไหนจะเหมาะที่สุด..ขอความคิดเห็นด้วย
Started by
RocketManiA
, Sep 05 2008 03:12 PM
4 replies to this topic
#1
Posted 05 September 2008 - 03:12 PM
#2
Posted 05 September 2008 - 04:14 PM
ขอรายละเอียดนิดนึงครับ
1. จำนวนและความถี่ในการสุ่มตัวอย่าง
2. ชนิดของ control chart ที่ใช้
3. การสอบเทียบเครื่องมือวัด
4. การอบรมและวัดผลพนักงานในการใช้เครื่องมือวัด
5. งานเป็น per-production หรือ mass-production
1. จำนวนและความถี่ในการสุ่มตัวอย่าง
2. ชนิดของ control chart ที่ใช้
3. การสอบเทียบเครื่องมือวัด
4. การอบรมและวัดผลพนักงานในการใช้เครื่องมือวัด
5. งานเป็น per-production หรือ mass-production
Oooo
#3
Posted 08 September 2008 - 04:02 PM
ขอรายละเอียดนิดนึงครับ
1. จำนวนและความถี่ในการสุ่มตัวอย่าง--> จำนวนตัวอย่าง3ชิ้น-10ชิ้นตามขนาดของงานแต่ละLot.
2. ชนิดของ control chart ที่ใช้--->control chart ธรรมดาหมายถึงมีค่า Spec. เป็นเส้นกลาง มีเส้น UCL LCL
และ เส้นค่าที่ได้จากการวัดครับ
3. การสอบเทียบเครื่องมือวัด--->QA เป็นคนสอบเทียบครับ
4. การอบรมและวัดผลพนักงานในการใช้เครื่องมือวัด--->QA กำลังทำ GR&R ครับแต่ไม่รู้ว่าชาติไหนจะเสร็จ
5. งานเป็น per-production หรือ mass-production---->ทุกอันเป็น mass-production หมด
ขอบคุณ คุณ Kreetha ด้วยครับ..ผมจะรอคำแนะนำนะ
1. จำนวนและความถี่ในการสุ่มตัวอย่าง--> จำนวนตัวอย่าง3ชิ้น-10ชิ้นตามขนาดของงานแต่ละLot.
2. ชนิดของ control chart ที่ใช้--->control chart ธรรมดาหมายถึงมีค่า Spec. เป็นเส้นกลาง มีเส้น UCL LCL
และ เส้นค่าที่ได้จากการวัดครับ
3. การสอบเทียบเครื่องมือวัด--->QA เป็นคนสอบเทียบครับ
4. การอบรมและวัดผลพนักงานในการใช้เครื่องมือวัด--->QA กำลังทำ GR&R ครับแต่ไม่รู้ว่าชาติไหนจะเสร็จ
5. งานเป็น per-production หรือ mass-production---->ทุกอันเป็น mass-production หมด
ขอบคุณ คุณ Kreetha ด้วยครับ..ผมจะรอคำแนะนำนะ
#4
Posted 09 September 2008 - 05:43 PM
ตอนนี้ทำ SPC ภายในแผนกตนเองอยู่ ซึ่งเป็นแค่การวัด Dimension ของชิ้นงานปกติ
โดยใช้ Dial gauge และ เครื่อง profile โดยบางชิ้นงานก็วัดความหนาบางชิ้นงานก็วัดระยะ SC
ตอนนี้ใช้แค่ Control chart มีค่า Spec. เป็นเส้นกลาง มีเส้น UCL LCL เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ
ว่างานแต่ละ Lot ผ่านหรือไม่ โดยทุกค่าที่วัดได้ในแต่ละ Lot จะต้องอยู่ในค่าควบคุมของเส้น UCL LCL
อยากถามว่า..ทำแบบนี้เหมาะสมหรือยัง...และต้องทำอะไรเพิ่มไหม เช่น ทำ Cpk,Ppk,GR&R ของพนักงานที่เช็คงาน
-จากข้อมูลเบื้องต้น control chart น่าจะเป็น Xbar, R สิ่งสำคัญในการพิจารณาและวิเคราะห์control chart นอกจากการสวิงของกราฟต้องไม่หลุดลิมิตแล้วยังต้องพิจารณากฎต่างๆอีก ซึ่งในส่วนนี้ผมคิดว่าคุณRocketmaniAน่าจะทราบดีอยู่แล้ว
-พิจาณาจากการผลิตเป็น mass-prod นอกจากการพล็อต control chart แล้วยังต้องคำนวณค่า Cpk ด้วยซึ่งค่าที่ได้จะต้องเท่ากับ1.33 หรือมากกว่านี้จึงจะถือว่ายอมรับได้
-การทำGR&Rของเครื่องมือวัดไม่จำเป็นต้องทำเพราะมีการสอบเทียบอยู่แล้ว
-ส่วนพนักงานถ้ามีเวลาทำGR&Rได้ก็จะดีมาก แต่ถ้าขี้เกียจก็ให้พนักงานทำข้อสอบโดยให้อ่านค่าจากข้อสอบ แล้ววัดผลว่าเป็นที่น่าพอใจหรือไม่
โดยใช้ Dial gauge และ เครื่อง profile โดยบางชิ้นงานก็วัดความหนาบางชิ้นงานก็วัดระยะ SC
ตอนนี้ใช้แค่ Control chart มีค่า Spec. เป็นเส้นกลาง มีเส้น UCL LCL เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ
ว่างานแต่ละ Lot ผ่านหรือไม่ โดยทุกค่าที่วัดได้ในแต่ละ Lot จะต้องอยู่ในค่าควบคุมของเส้น UCL LCL
อยากถามว่า..ทำแบบนี้เหมาะสมหรือยัง...และต้องทำอะไรเพิ่มไหม เช่น ทำ Cpk,Ppk,GR&R ของพนักงานที่เช็คงาน
-จากข้อมูลเบื้องต้น control chart น่าจะเป็น Xbar, R สิ่งสำคัญในการพิจารณาและวิเคราะห์control chart นอกจากการสวิงของกราฟต้องไม่หลุดลิมิตแล้วยังต้องพิจารณากฎต่างๆอีก ซึ่งในส่วนนี้ผมคิดว่าคุณRocketmaniAน่าจะทราบดีอยู่แล้ว
-พิจาณาจากการผลิตเป็น mass-prod นอกจากการพล็อต control chart แล้วยังต้องคำนวณค่า Cpk ด้วยซึ่งค่าที่ได้จะต้องเท่ากับ1.33 หรือมากกว่านี้จึงจะถือว่ายอมรับได้
-การทำGR&Rของเครื่องมือวัดไม่จำเป็นต้องทำเพราะมีการสอบเทียบอยู่แล้ว
-ส่วนพนักงานถ้ามีเวลาทำGR&Rได้ก็จะดีมาก แต่ถ้าขี้เกียจก็ให้พนักงานทำข้อสอบโดยให้อ่านค่าจากข้อสอบ แล้ววัดผลว่าเป็นที่น่าพอใจหรือไม่
Oooo
#5
Posted 11 September 2008 - 03:22 PM
ขอบคุณมากครับที่แนะนำ...

1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users