ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

UCL , LCL
#1
Posted 05 September 2010 - 09:40 PM
#2
Posted 05 September 2010 - 10:13 PM
ในกระทู้เรื่อง วิธีทางสถิติเพื่อการควบคุมคุณภาพ ที่คุณ download ไป มีบอกไว้อยู่น่ะครับ ลองศึกษาดูก่อนน่ะ

Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#3
Posted 06 September 2010 - 08:39 AM

- ตกลงต้องการความหมายของคำไหน?... ครับ! -------> USL , LSL , CpU , CpL
" ʵ
#4
Posted 06 September 2010 - 09:39 AM

- ตกลงต้องการความหมายของคำไหน?... ครับ! -------> USL , LSL , CpU , CpL
UCL = Upper Control Limit = ขีดจำกัดบน
LCL = Lower Control Limit = ขีดจำกัดล่าง
สองตัวนี้ต่างกับ USL = Upper Spec Limit และ LSL = Lower Spec Limit ตรงที่ UCL และ LCL ได้มาจากการคำนวณ ในขณะที่ LSL และ USL ได้มาจาก Spec จริงครับ
เช่น Spec ของชิ้นงาน = 50 +- 4 ดังนั้น USL = 54 และ LSL = 46
แต่การจะได้ค่าของ UCL, LCL มานั้น เราต้องคำนวณค่า Standard Deviation ของกลุ่มตัวอย่างที่เราสุ่มมาให้ได้เสียก่อน แล้วเอามาหาค่าดังกล่าว โดยสูตรทั้งหมดก็หาลาวโดดกันในนี้ก็ละกันนะครับ ไม่อยากเขียนซ้ำ กลัวผิดอ่ะ แหะๆ
#5
Posted 06 September 2010 - 09:52 AM

- จากนั้นก็นำไปหาค่า Cp , Cpk ของกระบวนการที่เราสนใจอยู่....
โดยนำค่าที่หาได้ ( USL , LSL , ค่าเบียงเบนมาตรฐาน , CpU , CpL , ค่าเฉลี่ย)
ใส่ลงไปในช่องว่าง โดยมีทั้งกรณีที่มีค่า USL & LSL หรือ USL หรือ LSL ตาม
Link Website ด้านล่างนี้.... ครับ!!! (แล้วโปรแกรมจะบอกว่าขณะนี้กระบวนการของเราเป็นอย่างไร?)
http://www.sqconline.com/cpk.html
" ʵ
#6
Posted 12 September 2010 - 07:40 AM
รบกวนอีกครั้งนะค่ะ พอดีกำลังทำกราฟค่าควบคุมอยู่ค่ะ
#7
Posted 12 September 2010 - 07:53 AM
รบกวนอีกครั้งนะค่ะ พอดีกำลังทำกราฟค่าควบคุมอยู่ค่ะ
A2 คือค่าคงที่สำหรับจำนวนสุ่มที่ Subgroup Size แต่ละขนาดน่ะครับ เราสุ่มแต่ละครั้งเป็นจำนวนกี่ชิ้น หรือ ทุกๆครั้งที่เราเดินไปสุ่มมาตรวจ เราสุ่มครั้งละกี่ชิ้น ประมาณนั้นครับ
น้อยน่ะที่จะเจอการสุ่มตรวจข้อมูล Variable มากมายขนาดนั้น มองในอีกมุม มันแปลว่ากระบวนการของเราแย่มากมายเลยน่ะ ตรวจเยอะอย่างนี้ ระวัง waste ด้วยแล้วกัน
ใน SPC Reference Manual ของ AIAG ให้ subgroup size มา ตั้งแต่ n = 2~25 น่ะครับ ลองดูอีกทีน่ะครับ
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#8
Posted 12 September 2010 - 08:29 PM
#9
Posted 12 September 2010 - 08:47 PM
#10
Posted 12 September 2010 - 11:58 PM
X-ba้r Superman Chart
ถ้าเป็นเมื่อก่อน น้องๆ operator งงกะการหาค่า s แน่ๆ ใครทำได้ต้องเรียกว่า Superman ทีเดียวเชียว แต่ยุคนี้สมัยนี้ excel ช่วยได้สบายมากครับ
เห็นด้วยกับอาจารย์ Dook น่ะครับ สุ่มเยอะขนาดนี้ คำนวณหา s (sd) แทนการหาค่า r น่าจะดีกว่าน่ะครับ ประมาณว่า ฟันธงได้หนักหน่วงขึ้นแน่นอนครับ
แต่ถ้า process นิ่งจริงๆ คบหาสมาคมกับ x-bar r น่าจะมีประสิทธิภาพพอๆกันครับ หรือว่า เราจะพัฒนาต่อยอดไปใช้ x-bar variance chart ดีครับ

Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users