สวัสดีพี่ชาว ISOTHAI.COM ทุกคนครับ
ผมมีเรื่องมาขอคำแนะนำครับ เกี่ยวกับเครื่องมือวัดครบดิว สอบเทียบ แล้วไม่ค่อยได้ตามกำหนดครับ ตัวอย่างเช่น มีการแจกแผนการสอบเทียบประจำเดือนไปแล้วเดือนนั้นๆ พอถึงดิวไปถามดู(ฝ่ายผลิต)ก็ไม่ได้ตามวันกำหนด เลยทำให้งานเลื่อนออกไป พี่มีตัวอย่างหรือคำแนะนำให้ผมเอาไปประยุกต์ใช้งานมั้ยครับ
ขอขอบพระคุณล่วงหน้าครับ
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

การติดตามเครื่องมือวัด
Started by
Mildytmt
, Jun 10 2010 08:38 AM
5 replies to this topic
#1
Posted 10 June 2010 - 08:38 AM
#2
Posted 10 June 2010 - 09:31 AM
QUOTE(ทิ. @ Jun 10 2010, 08:50 AM) <{POST_SNAPBACK}>

- ช่วยอธิบายรายละเอียดของปัญหา อีกครั้ง ครับ!
แล้วใครเป็นผู้สอบเทียบเครื่องมือวัด?
สวัสดีอีกรอบครับ คือ ปัญหาของผมเวลาถึงดิวสอบเทียบจะไม่ค่อยได้ตรงตามกำหนด ส่วนใหญ่จะเป็น ตลับเมตรน่ะครับ ที่ทำงานผมหน่วยงานสอบเทียบจะไม่ได้รับผิดชอบเรื่องเครื่องมือวัดจะรับหน้าที่สอบเที
ยบอย่างเดียว ฝ่าย/แผนกอื่นๆก็จะมาร้องขอให้หน่วยงานผมสอบเทียบ การควบคุมเครื่องมือจะเป็นฝ่าย/แผนก นั้นๆรับผิดชอบในการสั่งซื้อใหม่กับ Stock ไว้ครับ พอถึงดิวสอบเทียบเครื่องมือวัด ไปสอบถามทางฝ่าย/แผนกนั้น บางทีก็ไม่ทราบว่าครบดิวแล้ว หรือ แจ้งว่าสูญหายแล้ว นำของใน stock มาใช้ใหม่ สอบเทียบใหม่ พี่ๆพอจะมีคำแนะนำหรือตัวอย่างให้ผมไว้ศึกษามั้ยครับ
ขอขอบคุณไว้ล่วงหน้าครับ
พนักงานสอบเทียบมือใหม่
#3
Posted 10 June 2010 - 09:50 AM

- ถ้าเป็นในลักษณะเช่นนี้ก็เปรียบเสมือนหน่วยงานสอบเทียบเป็นแค่ "Outsource"
ดังนั้นความรับผิดชอบในการควบคุมเครื่องมือวัดตามข้อกำหนด 7.6 ย่อมเป็น
หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายผลิต/แผนกอื่นๆที่ขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัด... ครับ!
- แต่เนื่องจากหน่วยงานสอบเทียบ อยู่ในระบบคุณภาพ QMS คงมี Action ได้โดย
ให้ระดับหัวหน้างาน/ผู้บริหาร พูดคุยกันกับปัญหาที่เกิดขึ้น... เนื่องจากถ้า CB ตรวจ
พบประเด็นปัญหาการควบคุมเครื่องมือวัดที่ฝ่ายผลิต/แผนกอื่นๆ ย่อมส่งผลกระทบทั้งองค์กร/บริษัท... ครับ!!! (พยายามใช้ประเด็นนี้ในการพูดคุยกัน...)
***************************
" ʵ
" ʵ
#4
Posted 10 June 2010 - 03:34 PM
QUOTE(ทิ. @ Jun 10 2010, 09:50 AM) <{POST_SNAPBACK}>

- ถ้าเป็นในลักษณะเช่นนี้ก็เปรียบเสมือนหน่วยงานสอบเทียบเป็นแค่ "Outsource"
ดังนั้นความรับผิดชอบในการควบคุมเครื่องมือวัดตามข้อกำหนด 7.6 ย่อมเป็น
หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายผลิต/แผนกอื่นๆที่ขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัด... ครับ!
- แต่เนื่องจากหน่วยงานสอบเทียบ อยู่ในระบบคุณภาพ QMS คงมี Action ได้โดย
ให้ระดับหัวหน้างาน/ผู้บริหาร พูดคุยกันกับปัญหาที่เกิดขึ้น... เนื่องจากถ้า CB ตรวจ
พบประเด็นปัญหาการควบคุมเครื่องมือวัดที่ฝ่ายผลิต/แผนกอื่นๆ ย่อมส่งผลกระทบทั้งองค์กร/บริษัท... ครับ!!! (พยายามใช้ประเด็นนี้ในการพูดคุยกัน...)
แล้วถ้านำไปพูดคุยในการประชุมทบทวนได้ไหมคะ...แต่ข้อสรุปคือ พยามส่งให้ได้ตามกำหนดนะ
^ ^" แค่นั้นจะพอไหมคะ?
#5
Posted 10 June 2010 - 03:39 PM

- ผมแนะนำว่า ควรพูดคุยกันก่อน นะครับ!(แบบพบกันครึ่งทาง...)
จะได้ทำให้บรรยากาศในการทำงานไม่เครียดจนเกินไป ... ครับ!!!
แต่ถ้าไม่ไหวจริงๆๆ ก็คงต้องเข้าที่ประชุม QMRC
***************************
" ʵ
" ʵ
#6
Posted 10 June 2010 - 04:08 PM
ถูกต้องครับพบกันคนละครึ่งทาง เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี
ขอเสนอแนวทาง ครับ
- ควรจะมีการแจ้งล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนถึงวันDue Calibrate เพราะบางครั้งฝ่ายผลิตอาจจะลืมมัวแต่ทำงานเพลิน
- ที่ป้ายแสดงสถานะสอบเทียบของเครื่องมือแต่ละรายการ อาจจะเพิ่ม Due Calibrate ไปด้วย
- ขณะดึงเครื่องมือมา Calibrate ก็มีSpareให้หน่วยงานผลิตได้ใช้
กันไว้หลายๆทางจะได้ไม่พลาดอีกครับ
แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วง ถ้าชิ้นงานนั้นไม่ได้คุณภาพเป็นปัญหาจากการไม่ได้สอบเทียบเครื่องมือส่งไปถึงลูกค้า ............. เสียหายเยอะนะครับ
ขอเสนอแนวทาง ครับ
- ควรจะมีการแจ้งล่วงหน้าประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนถึงวันDue Calibrate เพราะบางครั้งฝ่ายผลิตอาจจะลืมมัวแต่ทำงานเพลิน
- ที่ป้ายแสดงสถานะสอบเทียบของเครื่องมือแต่ละรายการ อาจจะเพิ่ม Due Calibrate ไปด้วย
- ขณะดึงเครื่องมือมา Calibrate ก็มีSpareให้หน่วยงานผลิตได้ใช้
กันไว้หลายๆทางจะได้ไม่พลาดอีกครับ
แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วง ถ้าชิ้นงานนั้นไม่ได้คุณภาพเป็นปัญหาจากการไม่ได้สอบเทียบเครื่องมือส่งไปถึงลูกค้า ............. เสียหายเยอะนะครับ
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users