Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

เรื่อง SC point ในข้อกำหนด 8.3.3.3 ใน IATF16949


  • Please log in to reply
2 replies to this topic

#1 Little ISO

Little ISO

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 65 posts
  • Gender:Female

Posted 07 February 2020 - 01:44 PM

สวัสดีค่ะ พี่ๆ และ อาจารย์ทุกท่าน

 

คือหนูอยากทราบว่า ตามข้อกำหนด ใน IATF 16949 ข้อ 8.3.3.3 เรื่อง Special Characteristic

 

1. ต้องทำทุกตัวที่อยู่ใน Drawing (ลูกค้ากำหนด) .ใช่มั้ยคะ แต่หาก drawing ไม่ได้กำหนด(ลูกค้าไม่ได้กำหนด) เราต้องกำหนดเองใช้มั้ยคะ

 

2. ในกรณีที่ เรากำหนดเอง โดยใน 1 Model จะมีหลายรายการ Part ต้องทำทุกรายการ Part มั้ยคะ หรือว่าแค่ กำหนด 1 Model มีอย่างน้อย 1 จุด

    (หมายเหตุ ที่บริษัทไม่มี part ที่เป็น part safety ค่ะ)

 

 



#2 IATF MAN

IATF MAN

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 325 posts

Posted 09 February 2020 - 05:44 AM

สวัสดีค่ะ พี่ๆ และ อาจารย์ทุกท่าน

 

คือหนูอยากทราบว่า ตามข้อกำหนด ใน IATF 16949 ข้อ 8.3.3.3 เรื่อง Special Characteristic

 

1. ต้องทำทุกตัวที่อยู่ใน Drawing (ลูกค้ากำหนด) .ใช่มั้ยคะ แต่หาก drawing ไม่ได้กำหนด(ลูกค้าไม่ได้กำหนด) เราต้องกำหนดเองใช้มั้ยคะ

 

2. ในกรณีที่ เรากำหนดเอง โดยใน 1 Model จะมีหลายรายการ Part ต้องทำทุกรายการ Part มั้ยคะ หรือว่าแค่ กำหนด 1 Model มีอย่างน้อย 1 จุด

    (หมายเหตุ ที่บริษัทไม่มี part ที่เป็น part safety ค่ะ) 

SC Point ถ้าหากลูกค้ากำหนดมามักจะกำหนด ใน Drawing และ Enginerring standard  

นั้นหมายความถึง SC ของ Product แต่ก็ต้องไปพิจารณาที่ Procss ด้วยว่า Parameter ตัวได้ส่งผลโดยตรงกับ SC Product  ในกระบวนการนั้นๆ

ก็ต้องกำหนดให้มีจุด SC ที่ Process ด้วยเช่นกัน 

 

     สำหรับ ลูกค้าที่ไม่ได้กำหนดไว้  ภายในอาจจะต้องมีการพิจารณากำหนดขึ้นมา โดยทั่วไปกำนดจากทีม APQP  ไม่ว่าจะเป็น Safety part หรือไม่ก็ตามโดย เลือกจาก 3F  

     FIT  จุดประกอบ จุดติดตั้งที่ลูกค้า

     Function หน้าที่การทำงาน ที่จะมีผลกระทบกับการทำงานของรถยนต์

     Form  รูปร่าง การดัดงอ ความหนา ความบาง ความโค้ง ความโก่ง ความเว้า นูน เรียบ หยาบ etc.

 

     การกำหนด ควรพิจารณาทุก Part  และ ไม่ใช้  1 /1   อาจจะมีมากกว่า 1 จุดควบคุม

 

        ยกตังอย่างงาน Bracket (เหล็กปั็มขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์)  เป็น Part B rank 

     มีจุดประกอบ รู Datum 2 รู   ผมจะเลือกจุดนี้ เป็น SC โดยใช้สัญลักษณ์  Bและ วงกลมรอบตัว B ไว้  ทั้ง 2 รู 

     และทำ การควบคุม ด้วย X bar -R chart เพื่อควบคุม ขนาดรู ทั้งที่เป็น รูกลม และ Slot  เมื่อผลิตไปนานๆ แน้วโน้ม รูประกอบ จะเล็กลง (FIT)   

     ส่วนกระบวนการจะควบคุม การเปลี่ยน Tool    

 

            Bracketจะ มี การชุบผิว ด้วย EDP  ป้องกันสนิมการกัดกร่อน  ตรงนี้จุด SC จะเป็นเรื่อง ความหนา ของ EDP ที่ชุบ

  จะมีการ ใช้ Xbar -r Control ความหนา มาจาก Supplier

       และ กำหนดTest การกัดกร่อน ทุก6 เดือน ( Function)   ส่วนกระบวนการ จะควบคุม กระแสไฟในการ EDP  

       น้ำยาในการชุบ เป็นต้น 

 

pongsitkam67@gmail.com



#3 Little ISO

Little ISO

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 65 posts
  • Gender:Female

Posted 11 February 2020 - 02:56 PM

:Dขอบคุณค่า คุณ IATF MAN

 

ยกตัวอย่างเข้าใจง่ายเลย :D :D






0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users