เนื่องจากได้ไปอ่านหนังสือ จาก Royal Veterinary College , University of London มาเลย
นำมาแปลเป็นไทย บางส่วนก็ไม่แปลเพราะหากอ่านจากภาษาต้นแบบก็จะทำให้เข้าใจได้มากกว่า จึงขอพื้นที่เวปนี้
เพื่อแชร์ให้กับเพื่อนสมาชิกครับ
Risk and Hazard
Risk -----> Probability (สามารถคำนวณได้)
Hazard ---> Potential (สามารถประเมินได้แต่ไม่สามารถคำนวณได้)
A hazard is a Threat
Hazards are events (e.g. storm).
Biological entities (e.g. bacteria) or physical agent (e.g. heat)
ความเสี่ยงคืออะไร
ความเสี่ยงประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1.ส่วนของ Likelihood or Probability ของการเกิดเหตุการณ์
2.ความน่าจะเป็นของ Consequence และความใหญ่โตและความรุนแรงของผลกระทบ
Risky เช่น อาศัยอยู่ใกล้โรงงานนิวเคลียร์
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพคืออะไร
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะกำหนดว่า Hazard มีความเสี่ยงต่อสุขภาพมากน้อยเพียงใด (ไม่ว่าจะเป็น ชีวะ เคมี หรือ กายภาพ)
การประเมินความเสี่ยงประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. Hazard identification
2. Hazard characterization
3. Exposure assessment
4. Risk characterization
1. Hazard identification
เป็นการหาข้อมูลว่า Hazard จะมีผลต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง
2. Hazard characterization
เป็นการหาข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ เพื่อจะนำมาประเมินว่า Hazard นั้น สัมพันธ์กับผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร เช่น การทำ dose response assessment ดูการที่ได้สัมผัสกับสารนั้นในปริมาณสูงสุดแค่ไหนแล้วจะอันตราย
3. Exposure assessment
เป็นการหาข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณเพื่อจะนำมาประเมินว่ามนุษย์จะ expose ต่อสารหรือ hazard นั้นมากน้อยเท่าใด เช่น กินวันละเท่าใดถึงจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ
4. Risk characterization
เป็นการนำข้อมูลจากทั้งสามขั้นตอนข้างต้นเพื่อประเมินว่าจะเกิดผลเสียต่อสุขภาพเท่าใด รวมถึงต้องแสดงได้ว่าการประเมินความเสี่ยงนั้นมีค่าความไม่แน่นอน (Uncertainty) เท่าใด
การประเมินความเสี่ยงมีประโยชน์ต่อใครบ้าง อย่างไร
1.มีประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบายว่าควรจะลง interventions อะไรและยังช่วยบอกว่ามีอะไรที่ยังไม่รู้จำเป็นต้องทำวิจัยต่อไป
2.มีประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ เช่น ผู้ประกอบการอาหาร ที่จะทำให้การผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น
3.มีประโยชน์ต่อ International trade เพื่อแสดงว่าประเทศของเราได้มีการคำนึงถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพ
4. WTO ได้กำหนดว่า มาตรการที่ใช้ในเรื่องอาหารปลอดภัยต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยง
Risk Characteristics
• เชิงคุณภาพ เสี่ยงสูง กลาง ต่ำ
• เชิงปริมาณ ตัวเลข
• การวิเคราะห์ความไว (Sensitivity Analysis)
Probability Outcomes in Qualitative Risk Assessment
Negligible So rare that it does not merit to be considered
Very low Very rare but cannot be excluded
Low Rare but does occur
Medium Occurs regularly
High Occurs very often
Very high Occurs almost certainly
Uncertainty Categories in Qualitative Risk Assessment
Low Solid and complete data available;
Strong evidence provided in multiple references; authors report similar conclusions
Medium Some but no complete data available; evidence provided in small number of references; authors report conclusions that vary from one another
High Scarce or no data available; evidence not provided in references but rather in unpublished reports or based on observations that vary considerably between them.
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Risk and Hazard
Started by
Food Safety
, Sep 24 2013 12:02 PM
3 replies to this topic
#1
Posted 24 September 2013 - 12:02 PM
#2
Posted 24 September 2013 - 01:50 PM
ว๊าวววว....
ขอบคุณจ้า
#3
Posted 24 September 2013 - 08:15 PM
ขอบคุณครับ พี่น่าจะไปสมัครเขียนบทความด้าน Quality ได้เลยครับ
"ในโลกนี้ไม่มีคนแปลกหน้าสำหรับเรา มีแต่เพื่อนที่เรายังไม่ได้พบกันเท่านั้น"
E-mail suppadej@gmail.com
#4
Posted 24 September 2013 - 08:42 PM
ขอบคุณครับ พี่น่าจะไปสมัครเขียนบทความด้าน Quality ได้เลยครับ
อาย ม้วนต้วนเลย อ่ะ แปลผิด แปลถูก ถู ถู ไถ ไถ
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users