ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

การทดสอบแบบทำลาย (Destructive Measurement Systems)
#1
Posted 24 February 2012 - 10:38 AM
แต่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการทดสอบแบบทำลาย ว่ามีวิธีการทดสอบยังไงบ้าง.
ใช้ Part จำนวนกี่ชิ้น แล้ววิธีการเป็นอย่างไร..
ฝากผู้รู้ทุกท่านช่วยแนะนำด้วยนะคะ..
ขอบคุณคะ
#2
Posted 24 February 2012 - 11:00 AM
แต่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการทดสอบแบบทำลาย ว่ามีวิธีการทดสอบยังไงบ้าง.
ใช้ Part จำนวนกี่ชิ้น แล้ววิธีการเป็นอย่างไร..
ฝากผู้รู้ทุกท่านช่วยแนะนำด้วยนะคะ..
ขอบคุณคะ
Sample เป็นอะไรครับ
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#3
Posted 24 February 2012 - 08:49 PM
แต่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการทดสอบแบบทำลาย ว่ามีวิธีการทดสอบยังไงบ้าง.
ใช้ Part จำนวนกี่ชิ้น แล้ววิธีการเป็นอย่างไร..
ฝากผู้รู้ทุกท่านช่วยแนะนำด้วยนะคะ..
ขอบคุณคะ
การวิเคราะห์ระบบการวัดที่เป็นงานทดสอบแบบทำลาย
MSA manual 4th edition แนะนำให้คุณใช้ SPC 2nd ในการประเมิน
ซึ่งถ้าหากคุณทดสอบตั้งแต่ครั้งละ 2-9 ชิ้น คุณต้องใช้ xbar -r chart
แต่ถ้าคุณทดสอบแค่ครั้งละ 1 sample คุณก็ใช้ X-mr chart (individual and moving range)
เกณฑ์การประเมินและวิธีจะใช้เหมือน SPC ทุกอย่างครับ
#4
Posted 25 February 2012 - 10:35 AM
แต่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการทดสอบแบบทำลาย ว่ามีวิธีการทดสอบยังไงบ้าง.
ใช้ Part จำนวนกี่ชิ้น แล้ววิธีการเป็นอย่างไร..
ฝากผู้รู้ทุกท่านช่วยแนะนำด้วยนะคะ..
ขอบคุณคะ
เดี๋ยวเหลาให้ฟังครับ msa (grr) มันมีทั้งแบบ replicate หรือ crossed ทำซ้ำๆในงานเดิมๆได้ / non-replicate หรือ nested ไม่สามารถทำซ้ำ วัดซ้ำในงานเดิมๆได้
วิธีการประเมิน ทำเหมือน variable grr ครับ ต่างกันตรงการเตรียม sample จร้า
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#5
Posted 27 February 2012 - 03:18 PM
จะทดสอบโดยการใช้ Tensile ดึงเพื่อดูค่าว่าที่แรงดึงเท่าไหร่ ถึงจะทำให้สายเบรคที่ขาดได้.
จากที่เข้าใจว่าการวิเคราะห์ GRR แบบ Variable นั้น จะต้องเป็น Part ตัวเดียวกัน เครื่องมือเดี่ยวกัน แต่ต่างตรงที่คนทดสอบ.
ดังนั้นหากเมื่อทดสอบแล้วสายเบรคเสียหาย(ขาด) แสดงว่าเราไม่สามารถวิเคราะห์ที่ Part ตัวเดียวกันได้
อย่างนั้น เราจะทำการวิเคราะห์แบบ Variable ไม่ได้ใช่หรือเปล่าคะ..
จากที่อาจารย์ได้แนะนำ ว่าทำการวัดแบบ Varible จะแตกต่างตรงที่การเตรียม Sample.
รบกวนอาจารย์ช่วยแนะนำเพิ่มเติมหน่อยได้ไหมคะ ว่าต้องเตรียมยังไงบ้าง มีวิธีการอย่างไร..
ขอบคุณมากๆคะ..
#6
Posted 28 February 2012 - 05:46 AM
จะทดสอบโดยการใช้ Tensile ดึงเพื่อดูค่าว่าที่แรงดึงเท่าไหร่ ถึงจะทำให้สายเบรคที่ขาดได้.
จากที่เข้าใจว่าการวิเคราะห์ GRR แบบ Variable นั้น จะต้องเป็น Part ตัวเดียวกัน เครื่องมือเดี่ยวกัน แต่ต่างตรงที่คนทดสอบ.
ดังนั้นหากเมื่อทดสอบแล้วสายเบรคเสียหาย(ขาด) แสดงว่าเราไม่สามารถวิเคราะห์ที่ Part ตัวเดียวกันได้
อย่างนั้น เราจะทำการวิเคราะห์แบบ Variable ไม่ได้ใช่หรือเปล่าคะ..
จากที่อาจารย์ได้แนะนำ ว่าทำการวัดแบบ Varible จะแตกต่างตรงที่การเตรียม Sample.
รบกวนอาจารย์ช่วยแนะนำเพิ่มเติมหน่อยได้ไหมคะ ว่าต้องเตรียมยังไงบ้าง มีวิธีการอย่างไร..
ขอบคุณมากๆคะ..
ขอ E-Mail Address หน่อยครับ เดี๋ยวจัดเรื่องวิธีการให้
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#7
Posted 28 February 2012 - 08:46 AM
ขอข้อมูลด้วยครับอาจารย์ พอดีผมก็เป็นการทดสอบแบบทำลายเช่นกัน
ผลิตภัณฑ์เป็นเส้นใยสังเคราะห์ ซึ่งต้องทดสอบแรงดึงเหมือนกัน
tanprasert@gmail.com ครับ
#8
Posted 28 February 2012 - 01:29 PM
Siriya.c@ahcl.co.th
#9
Posted 28 February 2012 - 02:35 PM
กรณีที่ 1 ถ้า Sample ที่ใช้ทดสอบนั้นไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนย่อยๆได้ เช่น Welding Test ของงานเชื่อมขาเบรค หรืองาน Assembly ที่ต้องดีง Tensile ทั้งชุด
กรณีนี้คุณไม่สามารถแบ่ง Sample ได้ เพราะฉะนั้นคุณต้องใช้วิธของ SPC ไม่ว่าจะเป็น Xbar -R หรือ X-mr (กรณีชิ้นเดียว)
ดูคำอธิบายวิธีใน MSA Manual หน้า 157 หัวข้อ Large Sample from a stable process ครับ
กรณีที่ 2 ถ้า Sample สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนย่อยๆ ได้ (Split Specimen) เพื่อให้สามารถทำซ้ำได้ โดยที่ต้องแน่ใจว่าชิ้นส่วนย่อยที่แบ่งออกมาแล้วแต่ละชิ้นนั้น
มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous) หรือเป็นเนื้อเดียวกัน Properties ต่างๆไม่เปลี่ยน กรณีนี้คุณใช้ GRR แบบมาตฐานที่เราใช้ๆกันได้ครับ
กรณีแบบนี้จะใช้กับงานทดสอบพวก raw mat เช่น เหล็กกลม, Tube, หรืองาน hardness ต่างๆ เป็นต้น
ก็ลองพิจารณาดูนะครับจะใช้แบบไหนที่สะดวกและให้ผลได้ใกล้เคียงที่สุด แต่ถ้าให้ผมแนะนำ ผมแนะนำแบบแรกครับเพราะส่วนใหญ่งาน Automotive test
มักจะเป็นงานประกอบ (Assembly) เช่น งานเชื่อม, งาน Spot, revet, งานสวมอัด,
ยกเว้นงาน Stamping ที่ปั๊มแล้วนำมาทดสอบแรงดึง/แรงกด หรือความแข็ง แบบนี้ยังพอแบ่งตัวอย่างได้ครับ

Attached Files
#10
Posted 29 February 2012 - 10:16 AM
จะนำไปปฏิบัติและศึกษาเพิ่มเติมคะ..
#11
Posted 29 February 2012 - 10:43 AM
จะนำไปปฏิบัติและศึกษาเพิ่มเติมคะ..
ยินดีครับ และหากมีอะไรให้ช่วยก็เมล์มาตามนี้นะครับ
eng_038@hotmail.com
อังคพล
#12
Posted 06 November 2012 - 04:20 PM

#13
Posted 06 November 2012 - 06:48 PM
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users