ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

ผลิตน้ำประปาจากน้ำบาดาลในโรงงาน
Started by
kawpun
, Nov 03 2011 11:30 AM
10 replies to this topic
#1
Posted 03 November 2011 - 11:30 AM
บริษัทจะผลิตน้ำประปาเอง โดยที่ดูดน้ำบาดาลมาไว้ที่ถังพักน้ำและเติมคลอรีนก่อนจ่ายให้ใช้ภายในโรงงาน อยากทราบว่า การผลิตน้ำเองอย่างนี้ต้องมีอะไรเกี่ยวข้องบ้าง
1. ต้องมีเครื่องวัดอะไรที่ต้องใช้ในกระบวนการทำน้ำประเอง เช่น เครื่องวัดค่าคลอรีน เครื่องวัดความขุ่น
2. ค่า paramiter สำคัญ ที่เราต้องวัดเองประจำวัน ( ไม่เกี่ยวกับส่งตรวจภายนอกนะคะ ) แล้ว paramiter เหล่านี้ต่างจากการวัดในโรงงานที่วัดน้ำจากก๊อกน้ำประปาของการประปา หรือไม่คะ
อยากให้ผู้รู้เข้ามาช่วยแชร์หน่อยค่ะ โดยส่วนตัวมันน่าจะ control ยากและมีค่าใช้จ่ายเยอะแต่อยากได้ข้อมูลที่มั่นใจเพื่อไปตอบคำถามกับผู้บริหาร ( จริง ๆ อยากให้ใช้น้ำประปามากว่าค่ะ )
ปล.โรงงานไม่มีวิศวกรรมนะคะ มีแค่เจ้าหน้าที่ GMP อย่างเดียว
1. ต้องมีเครื่องวัดอะไรที่ต้องใช้ในกระบวนการทำน้ำประเอง เช่น เครื่องวัดค่าคลอรีน เครื่องวัดความขุ่น
2. ค่า paramiter สำคัญ ที่เราต้องวัดเองประจำวัน ( ไม่เกี่ยวกับส่งตรวจภายนอกนะคะ ) แล้ว paramiter เหล่านี้ต่างจากการวัดในโรงงานที่วัดน้ำจากก๊อกน้ำประปาของการประปา หรือไม่คะ
อยากให้ผู้รู้เข้ามาช่วยแชร์หน่อยค่ะ โดยส่วนตัวมันน่าจะ control ยากและมีค่าใช้จ่ายเยอะแต่อยากได้ข้อมูลที่มั่นใจเพื่อไปตอบคำถามกับผู้บริหาร ( จริง ๆ อยากให้ใช้น้ำประปามากว่าค่ะ )
ปล.โรงงานไม่มีวิศวกรรมนะคะ มีแค่เจ้าหน้าที่ GMP อย่างเดียว
#2
Posted 03 November 2011 - 11:55 AM
- สำหรับปัญหาของน้ำบาดาล ที่พบบ่อย ก็คือ ค่าความกระด้างจะค่อนข้างสูง
ดังนั้น ถ้าจะนำมาใช้ในกระบวนการผลิต ควรจะต้องกำจัดความกระด้าง ออกไปก่อน
โดยใช้ Cation Resin หรือ Anion Resin ครับ.
- แต่ถ้านำมาใช้งานทั่วไป แนะนำให้ลงบ่อพัก (เพื่อให้เหล็ก (Fe2+) ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจน)
จากนั้นผ่าน ชุดกรอง (Filter) (เพื่อกำจัดตะกอน) แล้วค่อยเติม คลอรีนเหลว (โซเดียมไฮโปคลอไรด์)
แล้ว ทดสอบคลอรีนอิสระ ซึ่งไม่ควรเกิน 0.5 ppm. ครับ.
ดังนั้น ถ้าจะนำมาใช้ในกระบวนการผลิต ควรจะต้องกำจัดความกระด้าง ออกไปก่อน
โดยใช้ Cation Resin หรือ Anion Resin ครับ.
- แต่ถ้านำมาใช้งานทั่วไป แนะนำให้ลงบ่อพัก (เพื่อให้เหล็ก (Fe2+) ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจน)
จากนั้นผ่าน ชุดกรอง (Filter) (เพื่อกำจัดตะกอน) แล้วค่อยเติม คลอรีนเหลว (โซเดียมไฮโปคลอไรด์)
แล้ว ทดสอบคลอรีนอิสระ ซึ่งไม่ควรเกิน 0.5 ppm. ครับ.
#3
Posted 03 November 2011 - 12:13 PM
ไม่ทราบโรงงานตั้งที่ไหนครับ
แล้วทำการขุดหรือยัง
แถวนั้นมีโรงงานไหนขุดบ้างแล้ว
ถ้ายังไม่ขุด ผมว่าทำการศึกษาพื้นที่ให้ดีก่อน ว่าต้องขุดลงไปแค่ไหน เวลาจะขุดน้ำบาดาลมาใช้ต้องขุดไปถึงชั้นทราย ซึ่งแต่ละที่ลึกไม่เท่ากัน และชั้นทรายก็มีหลายชั้น แต่ละชั้นให้น้ำไม่เท่ากัน ขุดไปแล้วใช้ไม่ได้เสียตังฟรีเลยนะครับ
ระวังท่อใต้ดินต่างๆที่ผ่านโรงงานด้วยครับ (อาจโชคดีไปขุดเจอท่อส่งน้ำมัน รวยกันเลยทีเดียว)
แถมบางที่เค้าห้ามขุดใช้นะครับ ผิดกฎหมาย (อันนี้ไม่แน่ใจ)
แล้วทำการขุดหรือยัง
แถวนั้นมีโรงงานไหนขุดบ้างแล้ว
ถ้ายังไม่ขุด ผมว่าทำการศึกษาพื้นที่ให้ดีก่อน ว่าต้องขุดลงไปแค่ไหน เวลาจะขุดน้ำบาดาลมาใช้ต้องขุดไปถึงชั้นทราย ซึ่งแต่ละที่ลึกไม่เท่ากัน และชั้นทรายก็มีหลายชั้น แต่ละชั้นให้น้ำไม่เท่ากัน ขุดไปแล้วใช้ไม่ได้เสียตังฟรีเลยนะครับ
ระวังท่อใต้ดินต่างๆที่ผ่านโรงงานด้วยครับ (อาจโชคดีไปขุดเจอท่อส่งน้ำมัน รวยกันเลยทีเดียว)
แถมบางที่เค้าห้ามขุดใช้นะครับ ผิดกฎหมาย (อันนี้ไม่แน่ใจ)
#4
Posted 03 November 2011 - 01:10 PM
QUOTE(Au... @ Nov 3 2011, 11:55 AM) <{POST_SNAPBACK}>
- สำหรับปัญหาของน้ำบาดาล ที่พบบ่อย ก็คือ ค่าความกระด้างจะค่อนข้างสูง
ดังนั้น ถ้าจะนำมาใช้ในกระบวนการผลิต ควรจะต้องกำจัดความกระด้าง ออกไปก่อน
โดยใช้ Cation Resin หรือ Anion Resin ครับ.
- แต่ถ้านำมาใช้งานทั่วไป แนะนำให้ลงบ่อพัก (เพื่อให้เหล็ก (Fe2+) ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจน)
จากนั้นผ่าน ชุดกรอง (Filter) (เพื่อกำจัดตะกอน) แล้วค่อยเติม คลอรีนเหลว (โซเดียมไฮโปคลอไรด์)
แล้ว ทดสอบคลอรีนอิสระ ซึ่งไม่ควรเกิน 0.5 ppm. ครับ.
ดังนั้น ถ้าจะนำมาใช้ในกระบวนการผลิต ควรจะต้องกำจัดความกระด้าง ออกไปก่อน
โดยใช้ Cation Resin หรือ Anion Resin ครับ.
- แต่ถ้านำมาใช้งานทั่วไป แนะนำให้ลงบ่อพัก (เพื่อให้เหล็ก (Fe2+) ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจน)
จากนั้นผ่าน ชุดกรอง (Filter) (เพื่อกำจัดตะกอน) แล้วค่อยเติม คลอรีนเหลว (โซเดียมไฮโปคลอไรด์)
แล้ว ทดสอบคลอรีนอิสระ ซึ่งไม่ควรเกิน 0.5 ppm. ครับ.
ตอนนี้มีการซื้อเครื่องวัดค่าคลอรีน เข้ามาวัดค่าคลอรีนแล้วค่ะ แต่ยังวัดค่าไม่ได้ แล้วนอกจากค่าคลอรีนที่ต้องวัด ต้องมี paramiter อื่นที่ต้องวัดอีกมั้ยค่ะ
ขอบคุณมาค่ะ
#5
Posted 03 November 2011 - 01:33 PM
QUOTE(Junovsky @ Nov 3 2011, 12:13 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ไม่ทราบโรงงานตั้งที่ไหนครับ
แล้วทำการขุดหรือยัง
แถวนั้นมีโรงงานไหนขุดบ้างแล้ว
ถ้ายังไม่ขุด ผมว่าทำการศึกษาพื้นที่ให้ดีก่อน ว่าต้องขุดลงไปแค่ไหน เวลาจะขุดน้ำบาดาลมาใช้ต้องขุดไปถึงชั้นทราย ซึ่งแต่ละที่ลึกไม่เท่ากัน และชั้นทรายก็มีหลายชั้น แต่ละชั้นให้น้ำไม่เท่ากัน ขุดไปแล้วใช้ไม่ได้เสียตังฟรีเลยนะครับ
ระวังท่อใต้ดินต่างๆที่ผ่านโรงงานด้วยครับ (อาจโชคดีไปขุดเจอท่อส่งน้ำมัน รวยกันเลยทีเดียว)
แถมบางที่เค้าห้ามขุดใช้นะครับ ผิดกฎหมาย (อันนี้ไม่แน่ใจ)
แล้วทำการขุดหรือยัง
แถวนั้นมีโรงงานไหนขุดบ้างแล้ว
ถ้ายังไม่ขุด ผมว่าทำการศึกษาพื้นที่ให้ดีก่อน ว่าต้องขุดลงไปแค่ไหน เวลาจะขุดน้ำบาดาลมาใช้ต้องขุดไปถึงชั้นทราย ซึ่งแต่ละที่ลึกไม่เท่ากัน และชั้นทรายก็มีหลายชั้น แต่ละชั้นให้น้ำไม่เท่ากัน ขุดไปแล้วใช้ไม่ได้เสียตังฟรีเลยนะครับ
ระวังท่อใต้ดินต่างๆที่ผ่านโรงงานด้วยครับ (อาจโชคดีไปขุดเจอท่อส่งน้ำมัน รวยกันเลยทีเดียว)
แถมบางที่เค้าห้ามขุดใช้นะครับ ผิดกฎหมาย (อันนี้ไม่แน่ใจ)
มีมานานแล้วค่ะ เพียงแต่อยากทราบถึงกระบวนการผลิตน้ำประปาบาดาล นะ่คะ
#7
Posted 03 November 2011 - 02:41 PM
QUOTE(kawpun @ Nov 3 2011, 01:33 PM) <{POST_SNAPBACK}>
มีมานานแล้วค่ะ เพียงแต่อยากทราบถึงกระบวนการผลิตน้ำประปาบาดาล นะ่คะ
พอดีไปหาเจอ 2 ไฟล์เกี่ยวกับเรื่องน้ำครับ อาจจะไม่ละเอียดแต่ก็พอใช้ได้คร่าวๆอะครับ
ถ้าคราวนี้ไม่เกี่ยวอีกครั้งก็ขอประทานอภัยครับ
ส่วนถ้าน้ำที่ใช้ต้องถูกผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับอาหาร ก็ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข 61,135 เลยครับ
Attached Files
#8
Posted 04 November 2011 - 09:14 AM
[quote name='Au...' date='Nov 3 2011, 01:43 PM' post='93620']
- ถ้านำน้ำบาดาล มาทำเป็นน้ำประปา เพื่อการอุปโภค (ใช้งานทั่วไป) Items ที่ต้องควบคุม ก็มีดังนี้
1. ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
2. สี (Pt-Co)
3. ความขุ่น (NTU)
4. เหล็ก (Fe)
5. ความกระด้างทั้งหมด
6. คลอรีนอิสระ
- เอกสารเพื่อศึกษาเพิ่ม ครับ
15.PDF 139.66KB
494 downloads
[/quote
ขอบพระคุณมาก ๆ ค่ะ มีประโยชน์มาก ๆ เลยค่ะ
- ถ้านำน้ำบาดาล มาทำเป็นน้ำประปา เพื่อการอุปโภค (ใช้งานทั่วไป) Items ที่ต้องควบคุม ก็มีดังนี้
1. ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
2. สี (Pt-Co)
3. ความขุ่น (NTU)
4. เหล็ก (Fe)
5. ความกระด้างทั้งหมด
6. คลอรีนอิสระ
- เอกสารเพื่อศึกษาเพิ่ม ครับ

[/quote
ขอบพระคุณมาก ๆ ค่ะ มีประโยชน์มาก ๆ เลยค่ะ
#9
Posted 05 November 2011 - 05:36 PM
ขอบคุณค่ะ
#10
Posted 08 November 2011 - 08:09 AM

#11
Posted 09 November 2011 - 10:55 AM
QUOTE(Au... @ Nov 3 2011, 01:43 PM) <{POST_SNAPBACK}>
- ถ้านำน้ำบาดาล มาทำเป็นน้ำประปา เพื่อการอุปโภค (ใช้งานทั่วไป) Items ที่ต้องควบคุม ก็มีดังนี้
1. ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
2. สี (Pt-Co)
3. ความขุ่น (NTU)
4. เหล็ก (Fe)
5. ความกระด้างทั้งหมด
6. คลอรีนอิสระ
- เอกสารเพื่อศึกษาเพิ่ม ครับ
15.PDF 139.66KB
494 downloads
1. ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
2. สี (Pt-Co)
3. ความขุ่น (NTU)
4. เหล็ก (Fe)
5. ความกระด้างทั้งหมด
6. คลอรีนอิสระ
- เอกสารเพื่อศึกษาเพิ่ม ครับ

คุณ AU ค่ะ แล้ว Item ที่กำหนดข้างบนนี่เป็นค่าที่เราต้องควบคุมเองภายในก่อนใช่มั๊ยค่ะ ( หมายถึง เวลาที่ Auditor เข้ามา Audit จะต้องสามารถตรวจวัดหรือเครื่องมือวัดเหล่านั้นให้เค้าดูได้เลย ประมาณนี้น่ะคะ ) สำหรับ Item ที่เราต้องส่งตรวจ Lab ภายนอกนอกนั้นต่างหากซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นด้านชีวภาพ และด้านเคมี กลัวจะเข้าใจผิดน่ะค่ะ
ขอบคุณมากนะคะ
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users