Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

ช่วยด้วยค่ะโดน CAR เรื่องไม่พบการวิเคราะห์อันตรายสำหรับผลิตภัณฑ์ที่บรรจุถุงขนาด 1 ตัน


  • This topic is locked This topic is locked
9 replies to this topic

#1 taw2506

taw2506

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 26 posts

Posted 17 August 2011 - 02:03 PM

ซึ่งขั้นตอนการผลิตไม่ผ่าน เครื่องตรวจจับโลหะ ทำให้ไม่ชัดเจนในมาตราการควบคุมและขั้นตอนการกำจัดอันตรายทางกายภาพที่มากับวัตถุดิบ
และกระบวนการผลิต


คือว่าจะเขียนไปแนวทางไหนดีค่ะเพราะว่า ผลิตภัณฑ์ี่ที่บรรจุถุง ขนาด 1 ตัน ลูกค้าจะต้องนำไปแพ็คเป็นขนาดเล็กลง AUDITOR ต้องการให้วิเคราะห์อันตราย ซึ่งที่กิโลหัวบรรจุ จะมีแม่เหล็กเพื่อตรวจจับเศษโลหะอยู่แล้ว แต่มันไม่ได้่ผ่านเครื่องตรวจจับโลหะ

#2 TFI@BangLen

TFI@BangLen

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 26 posts

Posted 17 August 2011 - 05:00 PM

QUOTE(taw2506 @ Aug 17 2011, 02:03 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ซึ่งขั้นตอนการผลิตไม่ผ่าน เครื่องตรวจจับโลหะ ทำให้ไม่ชัดเจนในมาตราการควบคุมและขั้นตอนการกำจัดอันตรายทางกายภาพที่มากับวัตถุดิบ
และกระบวนการผลิต


คือว่าจะเขียนไปแนวทางไหนดีค่ะเพราะว่า ผลิตภัณฑ์ี่ที่บรรจุถุง ขนาด 1 ตัน ลูกค้าจะต้องนำไปแพ็คเป็นขนาดเล็กลง AUDITOR ต้องการให้วิเคราะห์อันตราย ซึ่งที่กิโลหัวบรรจุ จะมีแม่เหล็กเพื่อตรวจจับเศษโลหะอยู่แล้ว แต่มันไม่ได้่ผ่านเครื่องตรวจจับโลหะ

ขอมูลน้อยไปนิด ถ้าข้อมูลเยอะกว่านี้ อาจจะไม่โดน CAR ก็ได้ ไหนๆก็โดนมาแล้ว ทำอะไรไม่ได้แล้ว นอกจากทำ Correction /corrective Action ลองดูตามนี้ครับ
ก็วิเคราะห์อันตรายทางกายภาพไปด้วยซิครับ ใส่ในขอบข่าย กับวิเคราะห์อันตราย ว่าจะมีอะไรติดมากับวัตถุดิบบ้าง เช่น เศษเหล็ก เชือก อะไรประมาณนี้ แล้วแต่ว่า process จะมีอะไรปนได้บ้าง แล้วก็ให้ แม่เหล็กเป็นตัวจัดการเรื่องโลหะ ถ้าเป็นตัวอื่นสงสัยต้องติดตะแกรงร่อน สงสัยจะเป็น CCP ด้วยนะเนี่ย เพราะไม่มีขั้นตอนอะไรกำจัดมันได้แล้ว แล้วเราก็ให้พนักงานตรวจดูที่แม่เหล็กกับที่ตะแกรงร่อน กำหนดเป็นความถี่ไป กำหนดวิะีการแก้ไข เช่น ถ้าเจอต้องทำไง ต้องเช็คตระแกรงว่ามันยังอยู่ดีด้วยนะครับ ส่วนแม่เหล็กต้องวัด Gauss ด้วยนะครับ กำหนดเอาว่าเท่าไหรที่มันยังจับเหล็กได้อยู่ตั้งเป็น standard ถ้าตรวจ Gauss ได้น้อยกว่าก็ต้องเปลี่ยนแม่เหล็กใหม่

จริงๆต้องไปดู process ว่ามันจะมีอะไรปนมาได้มั่ง ถ้าไม่มีโอกาสเลยก็วิเคราะห์ว่า ไม่มีอันตราย ไม่ต้องมีมาตรการอะไรก็ได้ก็ได้ auditor คงมองเห้นอะไรบางอย่างแน่ๆ รอท่านอื่นเสริมครับ

#3 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,568 posts
  • Gender:Male

Posted 17 August 2011 - 09:58 PM

QUOTE(TFI@BangLen @ Aug 17 2011, 05:00 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ขอมูลน้อยไปนิด ถ้าข้อมูลเยอะกว่านี้ อาจจะไม่โดน CAR ก็ได้ ไหนๆก็โดนมาแล้ว ทำอะไรไม่ได้แล้ว นอกจากทำ Correction /corrective Action ลองดูตามนี้ครับ
ก็วิเคราะห์อันตรายทางกายภาพไปด้วยซิครับ ใส่ในขอบข่าย กับวิเคราะห์อันตราย ว่าจะมีอะไรติดมากับวัตถุดิบบ้าง เช่น เศษเหล็ก เชือก อะไรประมาณนี้ แล้วแต่ว่า process จะมีอะไรปนได้บ้าง แล้วก็ให้ แม่เหล็กเป็นตัวจัดการเรื่องโลหะ ถ้าเป็นตัวอื่นสงสัยต้องติดตะแกรงร่อน สงสัยจะเป็น CCP ด้วยนะเนี่ย เพราะไม่มีขั้นตอนอะไรกำจัดมันได้แล้ว แล้วเราก็ให้พนักงานตรวจดูที่แม่เหล็กกับที่ตะแกรงร่อน กำหนดเป็นความถี่ไป กำหนดวิะีการแก้ไข เช่น ถ้าเจอต้องทำไง ต้องเช็คตระแกรงว่ามันยังอยู่ดีด้วยนะครับ ส่วนแม่เหล็กต้องวัด Gauss ด้วยนะครับ กำหนดเอาว่าเท่าไหรที่มันยังจับเหล็กได้อยู่ตั้งเป็น standard ถ้าตรวจ Gauss ได้น้อยกว่าก็ต้องเปลี่ยนแม่เหล็กใหม่

จริงๆต้องไปดู process ว่ามันจะมีอะไรปนมาได้มั่ง ถ้าไม่มีโอกาสเลยก็วิเคราะห์ว่า ไม่มีอันตราย ไม่ต้องมีมาตรการอะไรก็ได้ก็ได้ auditor คงมองเห้นอะไรบางอย่างแน่ๆ รอท่านอื่นเสริมครับ


ขออนุญาตเสริมจากคุณพี่ข้างบน

นอกจากจะทวนสอบโดยการวัด Gauss แล้ว เราสามารถทำ Validation ตัวแม่เหล็กนี้ได้นะครับ โดยการนำวัสดุที่เป็น Ferrous ทรงกลมเช่นลูกปืนขนาดที่เราคิดว่าน่าจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค หรือต่อลูกค้าใน step ต่อไปของเรา

นำมาประมาณสัก 10 ชิ้น แล้วผสมลงไปในสินค้าที่จะทดลองบรรจุ แล้วทดสอบดูว่าแม่เหล็กนี้สามารถตรวจจับ/ดูด ได้ครบทั้ง
10 ชิ้นหรือไม่ อาจจะทดสอบสัก 5-10 รอบก็ได้ แล้วคำนวณมาเป็นเปอร์เซนต์ความสามารถในการตรวจจับได้ของแม่เหล็ก
ตัวนี้ ก็น่าจะพอมีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ / สถิติ เพียงพอที่จะประเมินหรืออธิบายให้ใครๆเห็นได้ว่า เรามีมาตรการควบคุมที่ใช้ได้

พอควร


หมายเหตุ บางกระบวนการผลิตไม่จำเป็น หรือไม่สามารถ หรือไม่เหมาะสมต่อการต้องหา ต้องใช้เครื่องตรวจจับโลหะ

ช่วยบอก Auditor ด้วยครับ เพราะสินค้าเราเป็น Bulk ใหญ่คงไม่เหมาะ


แต่ถ้าจะใช้ Metal Detector ติดตั้งก่อนหัว Load ก็พอจะทำได้ บอก Auditor เขาด้วยเด้อ

#4 Junovsky

Junovsky

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 140 posts
  • Gender:Male

Posted 18 August 2011 - 08:58 AM

ไม่ทราบว่า Audit อะไรหรอครับ เป็นมาตรฐานข้อกำหนดหรือลูกค้ามาตรวจ

ตอนนั้นผมกำลังทำระบบ GMP&HACCP (ปัจจุบันก็กำลังเร่งทำอยู่) ผมเคยพูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านหนึ่ง ท่านแนะนำมาว่า ถ้าพูดถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคและอันตรายทางกายภาพ สิ่งแปลกปลอมที่อันตรายนั้นต้องมีลักษณะที่เป็นอันตรายถึงจะเป็นอันตราย เช่น ถ้าพบว่าเศษโลหะนั้นมีขนาดเล็ก เช่น ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร กินเข้าไปแล้วไม่ตายหรือไม่เกิดการบาดเจ็บร้ายแรง อาจถือว่าเป็นสิ่งแปลกปลอมที่ยอมรับว่าไม่เป็นอันตรายได้ และท่านยังได้อ้างกฎหมายบางประเทศว่า สิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต้องมีขนาดเกิน 7 มิลลิเมตร (อันนี้ไม่มั่นใจ เพราะไม่ได้จดไว้และไม่มีหลักฐาน) และถ้าเรามีระบบตรวจพบแน่นอนว่าขนาดที่เกินไปนั้นเราสามารถกำจัดออกไปได้หมดก็ไม่ต้อ
งกังวลเรื่องนี้อีก

แต่ท่านยังแนะนำมาอีกว่าให้แยกกันระหว่างระบบผ่านตามข้อกำหนดกับความต้องการของลูกค้
า ถ้าลูกค้าไม่ว่าอะไรและระบบผ่านก็อยู่ที่เราแล้วว่าเราจะลงทุนเพิ่มหรือไม่

ลองนำไปพิจารณาดูครับ (ถ้าเป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องก็ต้องขอประทานอภัยด้วยครับ และช่วยแจ้งด้วยครับเดียวจะกลับมาลบออก

#5 taw2506

taw2506

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 26 posts

Posted 18 August 2011 - 09:59 AM

QUOTE(Junovsky @ Aug 18 2011, 09:58 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ไม่ทราบว่า Audit อะไรหรอครับ เป็นมาตรฐานข้อกำหนดหรือลูกค้ามาตรวจ

ตอนนั้นผมกำลังทำระบบ GMP&HACCP (ปัจจุบันก็กำลังเร่งทำอยู่) ผมเคยพูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านหนึ่ง ท่านแนะนำมาว่า ถ้าพูดถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคและอันตรายทางกายภาพ สิ่งแปลกปลอมที่อันตรายนั้นต้องมีลักษณะที่เป็นอันตรายถึงจะเป็นอันตราย เช่น ถ้าพบว่าเศษโลหะนั้นมีขนาดเล็ก เช่น ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร กินเข้าไปแล้วไม่ตายหรือไม่เกิดการบาดเจ็บร้ายแรง อาจถือว่าเป็นสิ่งแปลกปลอมที่ยอมรับว่าไม่เป็นอันตรายได้ และท่านยังได้อ้างกฎหมายบางประเทศว่า สิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต้องมีขนาดเกิน 7 มิลลิเมตร (อันนี้ไม่มั่นใจ เพราะไม่ได้จดไว้และไม่มีหลักฐาน) และถ้าเรามีระบบตรวจพบแน่นอนว่าขนาดที่เกินไปนั้นเราสามารถกำจัดออกไปได้หมดก็ไม่ต้อ
งกังวลเรื่องนี้อีก

แต่ท่านยังแนะนำมาอีกว่าให้แยกกันระหว่างระบบผ่านตามข้อกำหนดกับความต้องการของลูกค้
า ถ้าลูกค้าไม่ว่าอะไรและระบบผ่านก็อยู่ที่เราแล้วว่าเราจะลงทุนเพิ่มหรือไม่

ลองนำไปพิจารณาดูครับ (ถ้าเป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องก็ต้องขอประทานอภัยด้วยครับ และช่วยแจ้งด้วยครับเดียวจะกลับมาลบออก

ก็ขอบคุณสำหรับทุกๆท่านที่ออกความคิดเห็นด้วยนะค่ะ

#6 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,568 posts
  • Gender:Male

Posted 18 August 2011 - 08:27 PM

QUOTE(Junovsky @ Aug 18 2011, 08:58 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ไม่ทราบว่า Audit อะไรหรอครับ เป็นมาตรฐานข้อกำหนดหรือลูกค้ามาตรวจ

ตอนนั้นผมกำลังทำระบบ GMP&HACCP (ปัจจุบันก็กำลังเร่งทำอยู่) ผมเคยพูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านหนึ่ง ท่านแนะนำมาว่า ถ้าพูดถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคและอันตรายทางกายภาพ สิ่งแปลกปลอมที่อันตรายนั้นต้องมีลักษณะที่เป็นอันตรายถึงจะเป็นอันตราย เช่น ถ้าพบว่าเศษโลหะนั้นมีขนาดเล็ก เช่น ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร กินเข้าไปแล้วไม่ตายหรือไม่เกิดการบาดเจ็บร้ายแรง อาจถือว่าเป็นสิ่งแปลกปลอมที่ยอมรับว่าไม่เป็นอันตรายได้ และท่านยังได้อ้างกฎหมายบางประเทศว่า สิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต้องมีขนาดเกิน 7 มิลลิเมตร (อันนี้ไม่มั่นใจ เพราะไม่ได้จดไว้และไม่มีหลักฐาน) และถ้าเรามีระบบตรวจพบแน่นอนว่าขนาดที่เกินไปนั้นเราสามารถกำจัดออกไปได้หมดก็ไม่ต้อ
งกังวลเรื่องนี้อีก

แต่ท่านยังแนะนำมาอีกว่าให้แยกกันระหว่างระบบผ่านตามข้อกำหนดกับความต้องการของลูกค้
า ถ้าลูกค้าไม่ว่าอะไรและระบบผ่านก็อยู่ที่เราแล้วว่าเราจะลงทุนเพิ่มหรือไม่

ลองนำไปพิจารณาดูครับ (ถ้าเป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องก็ต้องขอประทานอภัยด้วยครับ และช่วยแจ้งด้วยครับเดียวจะกลับมาลบออก




ต้องดู shape ของ Foreign Body ด้วยนะครับว่ามีรูปร่างหน้าตาอย่างไร แหลม คม หรือเปล่า

ส่วนขนาดเท่าที่ผมพอจะได้ศึกษามาบ้าง และมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรทางวิชาการ กำหนดไว้เรื่องขนาด
ของ FB ว่าหากมีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับ 2 มม. ถือว่าเป็น Physical Hazard

#7 Junovsky

Junovsky

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 140 posts
  • Gender:Male

Posted 19 August 2011 - 04:52 PM

QUOTE(Food Safety @ Aug 18 2011, 08:27 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ต้องดู shape ของ Foreign Body ด้วยนะครับว่ามีรูปร่างหน้าตาอย่างไร แหลม คม หรือเปล่า

ส่วนขนาดเท่าที่ผมพอจะได้ศึกษามาบ้าง และมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรทางวิชาการ กำหนดไว้เรื่องขนาด
ของ FB ว่าหากมีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับ 2 มม. ถือว่าเป็น Physical Hazard


ไม่ทราบว่าขอเอกสารอ้างอิงได้มั้ยครับ พอดียังไม่มีครับ จะได้เอาไว้ defend กับ Auditor ครับ ขอบคุณมากครับ

pti4work@live.com smiley-signs001.gif

#8 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,568 posts
  • Gender:Male

Posted 19 August 2011 - 09:31 PM

QUOTE(Junovsky @ Aug 19 2011, 04:52 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ไม่ทราบว่าขอเอกสารอ้างอิงได้มั้ยครับ พอดียังไม่มีครับ จะได้เอาไว้ defend กับ Auditor ครับ ขอบคุณมากครับ

pti4work@live.com smiley-signs001.gif



เดี๋ยวพรุ่งนี้ scan ส่งให้ทางแมวครับ

#9 Junovsky

Junovsky

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 140 posts
  • Gender:Male

Posted 22 August 2011 - 08:23 AM

QUOTE(Food Safety @ Aug 19 2011, 09:31 PM) <{POST_SNAPBACK}>
เดี๋ยวพรุ่งนี้ scan ส่งให้ทางแมวครับ


ขอบคุณมากเลยครับ อิอิ congratualtions.gif

#10 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,568 posts
  • Gender:Male

Posted 22 August 2011 - 09:40 PM

QUOTE(Junovsky @ Aug 22 2011, 08:23 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ขอบคุณมากเลยครับ อิอิ congratualtions.gif



วันนี้ประชุม Management Monthly Meeting ทั้งวัน เลยยังไม่ว่างส่งให้ครับ congratualtions.gif




2 user(s) are reading this topic

0 members, 2 guests, 0 anonymous users