Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

การควบคุมเครื่องมือวัด


  • This topic is locked This topic is locked
31 replies to this topic

#1 alones

alones

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 66 posts

Posted 24 February 2010 - 07:16 PM

Pre-audit ได้รับให้ทำการปรับปรุงแก้ไข ดังนี้ค่ะ
1. เครื่องมือวัด เครื่องทดสอบ ให้แบ่งกลุ่มควบคุมภายใน-นอก มีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง
2.ความถี่ในการ cal ขึ้นอยู่กับอะไร
3.ค่าerror การยอมรับ
4.แบบฟอร์มรายชื่อเครื่องมือ

ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้ด้วยค่ะ


#2 ต๊อกAsst.QMR

ต๊อกAsst.QMR

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 345 posts
  • Gender:Male
  • Location:พระราม3 กรุงเทพฯ

Posted 25 February 2010 - 10:02 AM

QUOTE(alones @ Feb 24 2010, 07:16 PM) <{POST_SNAPBACK}>
Pre-audit ได้รับให้ทำการปรับปรุงแก้ไข ดังนี้ค่ะ
1. เครื่องมือวัด เครื่องทดสอบ ให้แบ่งกลุ่มควบคุมภายใน-นอก มีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง
2.ความถี่ในการ cal ขึ้นอยู่กับอะไร
3.ค่าerror การยอมรับ
4.แบบฟอร์มรายชื่อเครื่องมือ

ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้ด้วยค่ะ


ตอบเป็นข้อๆนะครับ
1. หลักการแบ่งสอบเทียบภายใน-ภายนอกเอาง่ายๆคือให้พิจารณาความสามารถในการสอบเทียบของคุณว่าคุณสามารถสอบเทียบเองไ
ด้กี่ประเภทก็จัดเป็นภายในไปประเภทไหนสอบเทียบเองไม่ได้ก็จัดเป็นภายนอก
2. ขึ้นอยู่กับการใช้งานกับความถี่ในการใช้งานของเครื่องมือชนิดนั้นๆครับ เช่นใช้งานบ่อยและวัดงานครั้งละมากๆ อาจcal. 3เดือน/ครั้ง เป็นต้น
3. ค่า errar ของเครื่องมือวัดสามารถพิจารณาได้จาก ค่า errar ของผลิตภัณฑืที่เราวัดครับซึ่ง ค่าของเครื่องมือวัดควรมีความละเอียดมากกว่าค่าของผลิตภัณฑ์ 3-10เท่า(ตามหนังสือคู่มือที่ผมอ่านมาน่ะ...แต่เป็นเล่มเก่าแล้วนะ)
4. แบบฟอร์ม...ตามไฟล์แนบเลยครับ จัดให้

Attached Files



#3 alones

alones

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 66 posts

Posted 25 February 2010 - 10:12 AM

QUOTE(ต๊อกQA @ Feb 25 2010, 10:02 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบเป็นข้อๆนะครับ
1. หลักการแบ่งสอบเทียบภายใน-ภายนอกเอาง่ายๆคือให้พิจารณาความสามารถในการสอบเทียบของคุณว่าคุณสามารถสอบเทียบเองไ
ด้กี่ประเภทก็จัดเป็นภายในไปประเภทไหนสอบเทียบเองไม่ได้ก็จัดเป็นภายนอก
2. ขึ้นอยู่กับการใช้งานกับความถี่ในการใช้งานของเครื่องมือชนิดนั้นๆครับ เช่นใช้งานบ่อยและวัดงานครั้งละมากๆ อาจcal. 3เดือน/ครั้ง เป็นต้น
3. ค่า errar ของเครื่องมือวัดสามารถพิจารณาได้จาก ค่า errar ของผลิตภัณฑืที่เราวัดครับซึ่ง ค่าของเครื่องมือวัดควรมีความละเอียดมากกว่าค่าของผลิตภัณฑ์ 3-10เท่า(ตามหนังสือคู่มือที่ผมอ่านมาน่ะ...แต่เป็นเล่มเก่าแล้วนะ)
4. แบบฟอร์ม...ตามไฟล์แนบเลยครับ จัดให้

ขอบคุณมากค่ะ สำหรับคำตอบ ถ้าไม่เป้นการรบกวน ขอถามเพิ่มนะค่ะ
1.ช่วงผลิตภัณฑ์ นำหนัก 200-650 กรัม ถ้าใช้ตุ้มนำหนักที่เป้นมาสเตอร์จะใช้เท่าไรจึงจะเหมาะสมค่ะ
2.การขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัด จำเป็นต้องขึ้นทุกชนิดหรือไม่ หรือเฉพาะตัวที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ (เช่น Spec น้ำหนัก )
และที่ฃึ้นต้อง สอบเทียบทุกตัวหรือไม่ หรือส่งสอบแล้วให้เป๊น master ได้มั้ยค่ะ
ขอบคุณมากๆๆๆนะค่ะ

#4 puinaka

puinaka

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 6 posts

Posted 25 February 2010 - 10:23 AM

มาเก็บข้อมูลค่ะ ขอบคุณค่ะ

#5 ต๊อกAsst.QMR

ต๊อกAsst.QMR

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 345 posts
  • Gender:Male
  • Location:พระราม3 กรุงเทพฯ

Posted 25 February 2010 - 10:23 AM

QUOTE(alones @ Feb 25 2010, 10:12 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ขอบคุณมากค่ะ สำหรับคำตอบ ถ้าไม่เป้นการรบกวน ขอถามเพิ่มนะค่ะ
1.ช่วงผลิตภัณฑ์ นำหนัก 200-650 กรัม ถ้าใช้ตุ้มนำหนักที่เป้นมาสเตอร์จะใช้เท่าไรจึงจะเหมาะสมค่ะ
2.การขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัด จำเป็นต้องขึ้นทุกชนิดหรือไม่ หรือเฉพาะตัวที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ (เช่น Spec น้ำหนัก )
และที่ฃึ้นต้อง สอบเทียบทุกตัวหรือไม่ หรือส่งสอบแล้วให้เป๊น master ได้มั้ยค่ะ
ขอบคุณมากๆๆๆนะค่ะ

ตอบข้อ 1. เลือกให้ครอบคลุมน้ำหนักที่ใช้งานนั่นแหล่ะครับ ก็ลองแบ่งช่วงให้เหมาะสมดู เช่น 200g. 300g..... ประมาณนี้อ่ะครับ
ตอบข้อ 2. ขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัดเฉพาะตัวที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ครับ ต้องสอบเทียบทุกตัวครับ แต่ข้อกำหนดระบุว่าให้มีการสอบเทียบ หรือการทวนสอบครับ คุณจะกำหนดให้เป็นการสอบเทียบทั้งหมด หรืออาจจะกำหนดให้เป็นการทวนสอบในเครื่องมือบางตัวก็ได้ครับ


#6 schatjaeoen

schatjaeoen

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 250 posts
  • Gender:Male

Posted 26 February 2010 - 09:01 AM

QUOTE(ต๊อกQA @ Feb 25 2010, 10:02 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบเป็นข้อๆนะครับ
1. หลักการแบ่งสอบเทียบภายใน-ภายนอกเอาง่ายๆคือให้พิจารณาความสามารถในการสอบเทียบของคุณว่าคุณสามารถสอบเทียบเองไ
ด้กี่ประเภทก็จัดเป็นภายในไปประเภทไหนสอบเทียบเองไม่ได้ก็จัดเป็นภายนอก
2. ขึ้นอยู่กับการใช้งานกับความถี่ในการใช้งานของเครื่องมือชนิดนั้นๆครับ เช่นใช้งานบ่อยและวัดงานครั้งละมากๆ อาจcal. 3เดือน/ครั้ง เป็นต้น
3. ค่า errar ของเครื่องมือวัดสามารถพิจารณาได้จาก ค่า errar ของผลิตภัณฑืที่เราวัดครับซึ่ง ค่าของเครื่องมือวัดควรมีความละเอียดมากกว่าค่าของผลิตภัณฑ์ 3-10เท่า(ตามหนังสือคู่มือที่ผมอ่านมาน่ะ...แต่เป็นเล่มเก่าแล้วนะ)
4. แบบฟอร์ม...ตามไฟล์แนบเลยครับ จัดให้

ผมขอเพิ่มเติมในข้อ3 นิดหนึ่งครับคือว่า
เราอาจจะเอามาจะ Manual ของเครื่องมือนั้นๆมาจะเป็นการดีครับคือถ้าเรา
ยึดตาม Spec maker แล้วปรากฎว่าเครื่องมือตัวนั้นไม่ผ่านการสอบเทียบ
มันก็ยังไม่มีผลต่อชิ้นงานเพราะ Spec ชิ้นงานกับ Spec. Maker Spec.
Maker มันจะเล็กกว่าซึ่งถ้า Out spec. Maker มีทางเป็นไปได้ว่ามันจะ
ไม่มีผลกระทบต่อชิ้นงาน งงกันใหมครับ

#7 schatjaeoen

schatjaeoen

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 250 posts
  • Gender:Male

Posted 26 February 2010 - 09:06 AM

QUOTE(ต๊อกQA @ Feb 25 2010, 10:23 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบข้อ 1. เลือกให้ครอบคลุมน้ำหนักที่ใช้งานนั่นแหล่ะครับ ก็ลองแบ่งช่วงให้เหมาะสมดู เช่น 200g. 300g..... ประมาณนี้อ่ะครับ
ตอบข้อ 2. ขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัดเฉพาะตัวที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ครับ ต้องสอบเทียบทุกตัวครับ แต่ข้อกำหนดระบุว่าให้มีการสอบเทียบ หรือการทวนสอบครับ คุณจะกำหนดให้เป็นการสอบเทียบทั้งหมด หรืออาจจะกำหนดให้เป็นการทวนสอบในเครื่องมือบางตัวก็ได้ครับ

Test Data การสอบเทียบเครื่องชั้งครับลอง
เอาไปศึกษาดูครับ

Attached Files



#8 ต๊อกAsst.QMR

ต๊อกAsst.QMR

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 345 posts
  • Gender:Male
  • Location:พระราม3 กรุงเทพฯ

Posted 26 February 2010 - 04:05 PM

QUOTE(schatjaeoen @ Feb 26 2010, 09:01 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ผมขอเพิ่มเติมในข้อ3 นิดหนึ่งครับคือว่า
เราอาจจะเอามาจะ Manual ของเครื่องมือนั้นๆมาจะเป็นการดีครับคือถ้าเรา
ยึดตาม Spec maker แล้วปรากฎว่าเครื่องมือตัวนั้นไม่ผ่านการสอบเทียบ
มันก็ยังไม่มีผลต่อชิ้นงานเพราะ Spec ชิ้นงานกับ Spec. Maker Spec.
Maker มันจะเล็กกว่าซึ่งถ้า Out spec. Maker มีทางเป็นไปได้ว่ามันจะ
ไม่มีผลกระทบต่อชิ้นงาน งงกันใหมครับ



Thank. ครับคุณ schatjaeoen ที่มาช่วยกันเพิ่มเติมข้อมูล

#9 pitchy

pitchy

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 21 posts

Posted 26 February 2010 - 04:28 PM

ขอบคุณที่ร่วมกันแบ่งปันความรู้คับ

#10 nunui

nunui

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 83 posts

Posted 03 March 2010 - 02:19 PM

ขอบคุณค่ะ สำหรับข้อมูล

#11 koma

koma

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 15 posts
  • Gender:Male

Posted 08 March 2010 - 11:24 AM

QUOTE(ต๊อกQA @ Feb 25 2010, 10:02 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบเป็นข้อๆนะครับ
1. หลักการแบ่งสอบเทียบภายใน-ภายนอกเอาง่ายๆคือให้พิจารณาความสามารถในการสอบเทียบของคุณว่าคุณสามารถสอบเทียบเองไ
ด้กี่ประเภทก็จัดเป็นภายในไปประเภทไหนสอบเทียบเองไม่ได้ก็จัดเป็นภายนอก
2. ขึ้นอยู่กับการใช้งานกับความถี่ในการใช้งานของเครื่องมือชนิดนั้นๆครับ เช่นใช้งานบ่อยและวัดงานครั้งละมากๆ อาจcal. 3เดือน/ครั้ง เป็นต้น
3. ค่า errar ของเครื่องมือวัดสามารถพิจารณาได้จาก ค่า errar ของผลิตภัณฑืที่เราวัดครับซึ่ง ค่าของเครื่องมือวัดควรมีความละเอียดมากกว่าค่าของผลิตภัณฑ์ 3-10เท่า(ตามหนังสือคู่มือที่ผมอ่านมาน่ะ...แต่เป็นเล่มเก่าแล้วนะ)
4. แบบฟอร์ม...ตามไฟล์แนบเลยครับ จัดให้



ขอบคุนสำหรับความรู้ดีๆๆครับ

#12 Chaney5200

Chaney5200

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 574 posts
  • Gender:Female
  • Location:Prachinburi

Posted 08 March 2010 - 02:28 PM

ขอบคุณค่ะ
The gold of an argument should be progress, not victory.

#13 chi_chatt

chi_chatt

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 32 posts

Posted 29 March 2010 - 02:40 PM

ขอบคุณค่ะ

#14 Rob

Rob

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 13 posts

Posted 07 July 2010 - 01:56 PM

QUOTE(ต๊อกQA @ Feb 25 2010, 10:23 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบข้อ 1. เลือกให้ครอบคลุมน้ำหนักที่ใช้งานนั่นแหล่ะครับ ก็ลองแบ่งช่วงให้เหมาะสมดู เช่น 200g. 300g..... ประมาณนี้อ่ะครับ
ตอบข้อ 2. ขึ้นทะเบียนเครื่องมือวัดเฉพาะตัวที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ครับ ต้องสอบเทียบทุกตัวครับ แต่ข้อกำหนดระบุว่าให้มีการสอบเทียบ หรือการทวนสอบครับ คุณจะกำหนดให้เป็นการสอบเทียบทั้งหมด หรืออาจจะกำหนดให้เป็นการทวนสอบในเครื่องมือบางตัวก็ได้ครับ


รบกวนสอบถามเพิ่มเติมค่ะ

1. กรณีทวนสอบเองโดยใช้ลูกตุ้ม แต่น้ำหนักที่ใช้ไม่ครอบคลุมน้ำหนักที่ใช้งานอยู่ เช่น ช่วงน้ำหนักของสินค้าอยู่ที่ 100 - 500 kg
แต่ใช้ลูกตุ้มทวนสอบน้ำหนักเพียง 20 kg ผลของการทวนสอบสามารถเชื่อถือได้มาน้อยเพียงใดคะ



#15 stormriders

stormriders

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 919 posts

Posted 09 July 2010 - 02:06 AM

thank you na krab

#16 ้ัhypermutant

้ัhypermutant

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 18 posts

Posted 10 July 2010 - 03:32 PM

รบกวนขอไฟล์ด้วยนะครับ

suttiporn_yu@yahoo.com

ขอบคุณครับ

#17 BlueBerry BB

BlueBerry BB

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 80 posts

Posted 13 July 2010 - 02:51 PM

ขอบคุณมากค่ะ smiley-signs001.gif

#18 jaro

jaro

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 37 posts

Posted 25 July 2010 - 11:04 AM

thank you

#19 ณัฐชนันท์

ณัฐชนันท์

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 116 posts

Posted 31 July 2010 - 11:15 AM

ขอบคุณค่ะ

#20 peezaar

peezaar

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 11 posts
  • Gender:Male

Posted 03 August 2010 - 09:46 AM

ขอบคุณมากครับ




0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users