Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

อยากทราบเกณฑ์การยอมรับค่าบวกลบของเครื่องมือวัด


  • Please log in to reply
6 replies to this topic

#1 orawan2532

orawan2532

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 29 posts

Posted 07 May 2015 - 03:17 PM

รบกวนผู้รู้ ท่านอาจารย์ที่ผ่าน ISO มา เพราะ โรงงานน้องยังไม่ได้รับ ISO เลย แต่กำลังจะขอ ปลายปีนี้ ISO 9001:2008 ตอนนี้รับผิดชอบเรื่อง สอบเทียบเครื่ีองมือวัดในโรงงาน ทวนสอบเองด้วย โดยไปอบรมมาบ้าง แต่ยังขาดประสบการณ์ที่ควรรู้หลายๆเรื่อง ฝากเนื้อฝากตัวด้วยนะค่ะ ...

#2 joyfreshenup

joyfreshenup

    Super Member

  • Power Members
  • PipPip
  • 59 posts

Posted 08 May 2015 - 10:18 AM

รบกวนผู้รู้ ท่านอาจารย์ที่ผ่าน ISO มา เพราะ โรงงานน้องยังไม่ได้รับ ISO เลย แต่กำลังจะขอ ปลายปีนี้ ISO 9001:2008 ตอนนี้รับผิดชอบเรื่อง สอบเทียบเครื่ีองมือวัดในโรงงาน ทวนสอบเองด้วย โดยไปอบรมมาบ้าง แต่ยังขาดประสบการณ์ที่ควรรู้หลายๆเรื่อง ฝากเนื้อฝากตัวด้วยนะค่ะ ...

ขอโทดนะคะ เครื่องมือวัดทุกตัวจะมี specification ของมันอยู่แล้ว ลองดูที่คู่มือของเครื่องมือนั้นๆ ก่อนก้ได้ค่ะ โดยส่วนตัวที่เคยทวนสอบจะเปนแบบนี้นะคะ อย่าง pH meter ปกติของทางจอยจะยอมรับได้ที่ +- 0.5 ประมาณนี้ และที่สำคัญเครื่องมือวัดทุกตัวน่าจะมีประวัติการส่งทวนสอบจากบ.รับ cal ภายนอกนะคะ ถ้าไม่มั่นใจสอบถามผู้ขายค่ะว่า ค่าที่ยอมรับได้ของเครื่องอยู่ที่เท่าไหร่ค่ะ 



#3 Kornpong

Kornpong

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 107 posts

Posted 08 May 2015 - 03:24 PM

ผมมีวิธีแนะนำ 3 วิธีครับลองดูครับว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุดครับ

1.ตั้งตามคู่มือหรือ แคทตาล็อก หรือมาตรฐานต่างๆเช่น JIS ,ASTM 

2.ตั้งตามหลักการ 1/3 ของค่ายอมรับได้ของชิ้นงานที่เครื่องมือวัดนั้นทำการวัด เช่นชิ้นงานมีค่ายอมรับได้ที่ +/- 0.3 ค่ายอมรับได้ของเครื่องมือวัดจะอยู่ที่ 0.3/3 = +-0.1

3.ตั้งตามความสามารถของเครื่องวัดนั้นตามหลัก 1/3 เช่น คาลิเปอร์ที่มีความละเอียด 0.01 mm. จะวัดชิ้นงานที่มีค่ายอมรับได้ที่ดีที่สุดที่ +-0.1 mm. ฉะนั้นค่ายอมรับได้ของคาลิเปอร์ตัวนี้จะเท่ากับ 0.1/3 = +- 0.03 mm.

 

สรุปหลักการของเครื่องมือวัดมี2ข้อที่ต้องตระหนักครับ

1.เครื่องมือวัดควรมีความละเอียดเป็น 1/10 ของสิ่งที่จะวัด

2.เครื่องมือวัดควรมีค่าความผิดพลาดที่ยอมรับได้มากสุดควรเป็น 1/3 ของสิ่งที่วัด

  (ตาม ISO10012)

 

ผมหวังว่าคงมีประโยชน์บ้างนะครับ 

ต้องการข้อมุลเพิ่มเติม cwilailert@gmail.com อาจจะมีข้อมูลที่พอจะช่วยกันได้บ้างครับ



#4 orawan2532

orawan2532

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 29 posts

Posted 09 May 2015 - 09:48 AM

ผมมีวิธีแนะนำ 3 วิธีครับลองดูครับว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุดครับ

1.ตั้งตามคู่มือหรือ แคทตาล็อก หรือมาตรฐานต่างๆเช่น JIS ,ASTM 

2.ตั้งตามหลักการ 1/3 ของค่ายอมรับได้ของชิ้นงานที่เครื่องมือวัดนั้นทำการวัด เช่นชิ้นงานมีค่ายอมรับได้ที่ +/- 0.3 ค่ายอมรับได้ของเครื่องมือวัดจะอยู่ที่ 0.3/3 = +-0.1

3.ตั้งตามความสามารถของเครื่องวัดนั้นตามหลัก 1/3 เช่น คาลิเปอร์ที่มีความละเอียด 0.01 mm. จะวัดชิ้นงานที่มีค่ายอมรับได้ที่ดีที่สุดที่ +-0.1 mm. ฉะนั้นค่ายอมรับได้ของคาลิเปอร์ตัวนี้จะเท่ากับ 0.1/3 = +- 0.03 mm.

 

สรุปหลักการของเครื่องมือวัดมี2ข้อที่ต้องตระหนักครับ

1.เครื่องมือวัดควรมีความละเอียดเป็น 1/10 ของสิ่งที่จะวัด

2.เครื่องมือวัดควรมีค่าความผิดพลาดที่ยอมรับได้มากสุดควรเป็น 1/3 ของสิ่งที่วัด

  (ตาม ISO10012)

 

ผมหวังว่าคงมีประโยชน์บ้างนะครับ 

ต้องการข้อมุลเพิ่มเติม cwilailert@gmail.com อาจจะมีข้อมูลที่พอจะช่วยกันได้บ้างครับ

 

 

:lol2:  :lol2: ขอบคุณความรู้มากๆค่ะพี่



#5 orawan2532

orawan2532

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 29 posts

Posted 09 May 2015 - 09:50 AM

ขอโทดนะคะ เครื่องมือวัดทุกตัวจะมี specification ของมันอยู่แล้ว ลองดูที่คู่มือของเครื่องมือนั้นๆ ก่อนก้ได้ค่ะ โดยส่วนตัวที่เคยทวนสอบจะเปนแบบนี้นะคะ อย่าง pH meter ปกติของทางจอยจะยอมรับได้ที่ +- 0.5 ประมาณนี้ และที่สำคัญเครื่องมือวัดทุกตัวน่าจะมีประวัติการส่งทวนสอบจากบ.รับ cal ภายนอกนะคะ ถ้าไม่มั่นใจสอบถามผู้ขายค่ะว่า ค่าที่ยอมรับได้ของเครื่องอยู่ที่เท่าไหร่ค่ะ 

 

ใช่จร้าปกติก้อดูจาก Spec แต่ละเครื่องที่นำมาให้นะ แต่งง ตัวเทอร์โมมิเตอร์ ว่าถ้า ใช้ Type K ค่าบวกลบ จะอันไหนแน่ มันมีหลายอย่าง ในสเปคที่ผู้ผลิตกำหนดมาให้

 

หรือเราต้องดูจากตัวเครื่องมือจริงๆด้วยว่าเท่าไหร่ เพราะ เครื่องจักรยังไม่หยุดทำงาน แล้วอยู่สูงด้วยจึงได้ปต่คลาดคะเน ไปก่อนว่าน่าจะประมานนี้

 

ขอบคุณสำหรับ คอมเม้นนะคราฟพี่..... :lol2:  :lol2:  :lol2:



#6 Pun QC

Pun QC

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 27 posts

Posted 11 May 2015 - 08:01 AM

แอบมาอ่าน  ได้ประโยชน์มาก  ขอบคุณครับ



#7 tan111

tan111

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 12 posts

Posted 21 November 2016 - 11:14 AM

ผมมีวิธีแนะนำ 3 วิธีครับลองดูครับว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุดครับ

1.ตั้งตามคู่มือหรือ แคทตาล็อก หรือมาตรฐานต่างๆเช่น JIS ,ASTM 

2.ตั้งตามหลักการ 1/3 ของค่ายอมรับได้ของชิ้นงานที่เครื่องมือวัดนั้นทำการวัด เช่นชิ้นงานมีค่ายอมรับได้ที่ +/- 0.3 ค่ายอมรับได้ของเครื่องมือวัดจะอยู่ที่ 0.3/3 = +-0.1

3.ตั้งตามความสามารถของเครื่องวัดนั้นตามหลัก 1/3 เช่น คาลิเปอร์ที่มีความละเอียด 0.01 mm. จะวัดชิ้นงานที่มีค่ายอมรับได้ที่ดีที่สุดที่ +-0.1 mm. ฉะนั้นค่ายอมรับได้ของคาลิเปอร์ตัวนี้จะเท่ากับ 0.1/3 = +- 0.03 mm.

 

สรุปหลักการของเครื่องมือวัดมี2ข้อที่ต้องตระหนักครับ

1.เครื่องมือวัดควรมีความละเอียดเป็น 1/10 ของสิ่งที่จะวัด

2.เครื่องมือวัดควรมีค่าความผิดพลาดที่ยอมรับได้มากสุดควรเป็น 1/3 ของสิ่งที่วัด

  (ตาม ISO10012)

 

ผมหวังว่าคงมีประโยชน์บ้างนะครับ 

ต้องการข้อมุลเพิ่มเติม cwilailert@gmail.com อาจจะมีข้อมูลที่พอจะช่วยกันได้บ้างครับ

ขอบพระคุณมากๆครับ 






0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users