Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

รบกวนสอบถามแอดมิน เพื่อนๆสมาชิกเว็บ BRC Issue6 ข้อ 3.5.1.2


  • Please log in to reply
25 replies to this topic

#21 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,561 posts
  • Gender:Male

Posted 05 May 2013 - 06:10 PM

อย่าถ่อมตน ผมละอาย



ไม่ได้ถ่อมตนครับ แต่ผมเห็นว่าเป็นสิ่งที่มีประโยชน์จริงๆ และทำให้เกิดมุมมองในเชิงลึกของวิชชีพนี้ครับ

ดีใจมากที่เห็นช่องทาง ที่อาจารย์นำมาแชร์และชี้ช่องทางครับ


ด้วยความเคารพ

#22 Old man

Old man

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 432 posts
  • Gender:Male
  • Location:BSI Group Thailand
  • Interests:No Action , Talk Only.

Posted 05 May 2013 - 06:18 PM

ต้องหาเวลาไปอบรม เพื่อเพิ่มความรู้จากที่อาจารย์แนะนำไว้แล้วหล่ะครับ

ขอบพระคุณครับที่ชี้ทางสว่างให้


กล้าๆหน่้อย คุณ Food safety

ให้เรียนฟรี เลย
เชิญมาที่ BSI Group Thailand ครับ
ตอนนี้ย้ายจากมูดี้ มาที่ BSI แล้วครับ
ได้ทุกเวลาที่ต้องการครับผม
ถือเป็นค่าเ้ข้าก๊วนนะ

#23 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,561 posts
  • Gender:Male

Posted 05 May 2013 - 08:01 PM

กล้าๆหน่้อย คุณ Food safety
 
ให้เรียนฟรี เลย
เชิญมาที่ BSI Group Thailand  ครับ
ได้ทุกเวลาที่ต้องการครับผม
ถือเป็นค่าเ้ข้าก๊วนนะ







55555555555555555555555555555555555555555555555555

#24 natthapong mahasawat

natthapong mahasawat

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 21 posts
  • Gender:Male

Posted 07 May 2013 - 02:45 PM

ในการตอบคำถามนี้ ได้
ต้องไปอ่านทำความเข้าใจกับเจตนารมณ์ของข้อกำหนด 3.5.1 และ 3.5.1.1 ซึ่งเป็นข้อกำหนดหลัก
ก่อนมาอ่านข้อย่อยที่ 3.5.1.2 นี้ครับ

ข้อกำหนดระบุอย่างไร

3.5.1 Statement of Intent ( เจตนารมณ์ )
กำหนดว่า บริษัทต้องมีระบบในการอนุมัติผู้ส่งมอบและติดตามที่มีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจว่าความเสี่ยงที่มีนัยยะใดๆ จากวัตถุดิบ (รวมถึงบรรจุภัณฑ์) ที่มีผลต่อ ความปลอดภัย, กฎหมาย, คุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย ระบบนี้ต้องให้เป็นที่เข้าใจและได้รับการจัดการ

และ

ข้อ 3.5.1.1 Raw material Risk Assess
กำหนดว่า " องค์กรต้องจัด ทำเอกสารการประเมินความเสี่ยงของวัตถุดิบแต่ละตัวหรือแต่ละกลุ่มเป็นเอกสาร เพื่อระบุความเสี่ยงที่มีนัยยะต่อความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ กฎหมาย และคุณภาพ. สิ่งนี้ต้องคำนึงถึงนัยยะจาก ...."


ท่านต้องจำเป็นต้องเข้าใจ เรื่ิองความเสี่ยงของ Raw Material ก่อนครับ
ท่านต้องเริ่มต้นด้วยการประเมินความเสี่ยง วัตถุดิบ ซึ่งหมายความรวม ทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น ส่วนผสมอาหาร วัสดุปรุงแต่ง บรรจุภัณฑ์
ท่านต้องกำหนดความเสี่ยงในแต่ละรายการ แต่ละประเภท กับแต่ละซัพพลายเออร์
ซึ่งท่านต้อวกำหนดประเมินความเสี่ยง ในการกำหนดความเสี่ยงนี้มองสามเรื่อง ทั้ง คุณภาพ กฎหมาย และ ความปลอดภัยในอาหาร ให้ครบทุกมุม (หากหลุดตรงไหน CB เรื่องใด ประเด็นใด)ก็จะใช้ข้อนี้ออกCARครับ


ท่านอ่านไม่ผิดหรอก ต้องประเมินความเสี่ยงต่อรายการและต่อประเภทและ ต่อซัพพลายเออร์ ตามความจำเป็น (อาจจัดกลุ่มบ้างหากกล้อมแกล้มได้)
ในการประเมินความเสี่่ยงนี้

ท่านต้องประเมินว่าในแต่ละรายการ แต่ละผู้ส่งมอบ ทำการพิจารณาว่า มีความเสี่ยง ความรุนแรง โอกาสการเกิด มากหรือน้อย
ซึ่งจะเป็นหลักการการวิเคราะห์ความเสี่ยง แบบ FMEA ไม่ใช่ decision tree


เกณฑ์ทั่วไปที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยง

  • ท่านใช้ปริมาณมาก หรือ ใช้ปริมาณน้อยๆต่อผลิตภัณฑ์หนึ่ง เช่นหากเป็น raw mat หลักของการผลิต คงทำเฉยชาเฉื่อยๆ ฟินๆ คงไม่ได้
  • ประวัติที่เคยใช้กันมา มีปัญหามาก่อนไหม รายงานอาหารเป็นพิษ หรือ food alert
  • สถานที่ของผู้ส่งมอบอยู่ใกล้ อยู่ไก หากอยู่ไกล้ๆไม่ไปเยี่ยมชม ประเมินก็ดูแปลกๆ ว่าไหม หากอยูไกล ใช้นิดเดียว ตะแบงต้องไปประเมินโรงงานเขาก็ตลก ว่าไหม
  • ผลกระทบที่มีต่อผลิตภัณฑ์สุดท้ายมากน้อย ในปริมาณที่ใช้นั้นๆ
  • ความเป็นไปได้ในการทดสอบในห้องปฏิบัติการ
  • ความน่าเชื่อถือของผู้ผลิตนั้นๆ
  • อันตรายที่ทราบที่ สามารถมาตรการการกำจัดในองค์กรทำได้สมบูรณ์หรือไม่ (ไม่ว่า กำจัดหรือลดอันตรายนั้นๆ) ไม่ว่าเป็น kill step/ จุด CCP / oPRP
  • ประวัติการใช้งานกับรายการนี้
  • ความแปรปรวนของกรรมวิธีในการผลิตของซัพพลายเออร์
  • ข้อกำหนดกฎหมาย
* อย่าลืม BRC ไม่ใช่แค่ Food Safety แต่รวมหมดเอาหมด ทั้ง กฏหมาย ความปลอดภัยในอาหาร คุณภาพ


ข้อกำหนดข้อ 3.5.1.1 ยังบอกเราเพิ่มเติมอีกว่า
ในการประเมินความเสี่ยงนี้ นอกจากเรื่องพื้นๆ (การปนเปื้อนสารก่อภูมิแพ้, ∙ ความเสี่ยงสิ่งปนเปื้อนทางกายภาพ, การปนเปื้อนทางจุลชีววิทยา, การปนเปื้อนทางเคมี) ยังต้องมีการประเมินในเรื่อง allergen ,organic , ฮาลาล อาหารคนป่วย, อาหารเด็ก อีก
อย่าลืม เรื่องนี้เป็นการประเมินความเสี่ยงต่อรายการวัตถุดิบแต่ละซัพพลายเออร์
ไม่ใช่ต่อกระบวนการตรวจรับวัตถุดิบชององค์กรคุณ

หลังจากที่ท่านประเมินความเสี่ยงในแต่ละรายการวัตถุดิบ (รวมส่วนผสม บรรจุภัณฑ์ etc) ว่ามีความเสี่ยงมากน้อย
ความเสี่ยงนี้ต้องใช้เป็นพื้นฐานในการในการกำหนด เกณฑ์ วิธีการในการ ตรวจรับ (3.5.2) , เกณฑ์และวิธีการในการอนุมัติและเฝ้าติดตามซัพพลายเออร์ 3.5.1
BRC จะมีรายละเอียดเพิ่มเติม ในเรื่อง การตรวจรับวัตถุดิบบรรจุภัณฑ์ตามข้อ 3.5.2 , การจัดการงานบริการ ตามข้อ 3.5.3 และ การจัดการงานที่เอาร์ซอร์ต ตามข้อ 3.5.4



ข้อกำหนดข้อ 3.5.1.2 Documented Supplier Approval and Monitoring System.







ทุกๆ ซัพพลายเออร์ ต้องสามารถทำตามสเป็คของวัตถุดิบที่ส่งมอบได้ รวมถึงข้อกำหนดทางด้านกฏหมาย คุณภาพ และ ความปลอดภัยในอาหาร. บริษัทจำเป็นต้องมีระเบียบปฏิบัติในการอนุมัติ และ เฝ้าระวังติดตาม เพื่อให้มั่นใจว่า ซัพพลายเออร์นั้น " มีการผลิตผลิตภัณฑ์ภายใต้สภาวะสุขอนามัย, มีการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อคุณภาพและความปลอดภัยของวัตถุดิบและได้มีการปฏิบัติการสอบกลับอย่างมีประสิทธิผล" หรือไม่

ท่านต้องกำหนด มีวิธีและเกณฑ์ สำหรับวิธีการในการอนุมัติ ความถี่ในการเฝ้าติดตาม

ท่านต้องกำหนด ผู้ที่รับผิดชอบและวิธีการจัดการต่างๆ

การอนุมัติ คัดเลือกทำได้หลายหลายวิธี หรือ ใช้วิธีใดวิธีหนึ่งที่กำหนดไว้ก็ได้ ซึ่งอาจหมายถึงหนึ่งมาตรการหรือมากกว่า ( การตรวจประเมินผู้ส่งมอบ การตรวจจากบุคคลที่สาม หรือ ได้รับรองเช่น BRC แบบสอบถามผู้ส่งมอบ) ประเด็นสำคัญในเรื่องนี้คือ ท่านกำหนดไว้ว่าจะใช้วิธีใดอย่างไร มากน้อยต้องขั้นอยู่กับผลการประเมินความเสี่ยง ( ข้อกำหนด 3.5.1.1) ท่านต้องมีระเบียบปฏิบัติทีี่กำหนดเกณฑ์และการเฝ้าระวังติดตามซัพพลายเออร์ที่ท่านได้ใช้อยู่อย่างชัดๆ

อย่าลืมว่าการเฝ้าติดตาม ซัพพลายเออร์ ท่านเฝ้าติดตามเพื่อ " to ensure that suppliers are manufacturing products under hygienic conditions, effectively manage risks to raw material quality and safety and are operating effective traceability processes."

ดังนั้นเกณฑ์หรือวิธีการในการติดตามซัพพลายเออร์ ย่อมไม่ใช่ แค่การไปตรวจโรงงานเขา แบบเด็กๆ ตรวจประเมินกับแบบขอไปที หรือ ส่งแบบสอบถามทั่วไป ปีละครั้ง
สิ่งที่ใช้ในเป็นข้อมูลในการติดตาม อาจหมายถึง มาตรการวิธีที่ใช้ในการควบคุมความเสี่ยงจากวัตถุดิบที่ใช้มักกันทั่วไปเกลื่อนๆ
ท่านใช้ได้หมด รวมๆกัน ตราบใดที่เหมาะสมกับความเสี่ยง ไม่ว่า
  • ตรวจรับเข้าโดย ตรวจสอบด้วยสายตา
  • ทำสุ่มทดสอบในห้องแล็ป
  • การดู COA
  • การตรวจประเมินโรงงานผู้ผลิต
  • กำหนดให้ว่าต้องได้รับการรับรอง BRC Food จาก CB
  • หรือ เบิร์ดๆ ไม่ต้องทำอะไร เพราะความเสี่ยงต่ำๆๆๆๆ ก็ตามสบาย
ความถี่ ความเข้มงวด ความเอาจริงเอาจัง ทุกอย่างอยู่ที่ความเสี่ยง ( กฏหมาย ความปลอดภัย และ คุณภาพ) แน่นอนฟังธง
ให้เอาข้อมูลเห่ลานี้เป็นข้อมูลในการเฝ้าติดตามสมรรถนะของซัพพลายเออร์

ความเสี่ยงของใคร ก็เป็นความเสี่ยงขององค์กรนั้นครับ
จะมากจะน้อย จะควบคุมอย่างไร ไม่เหมือนกันหร็อก
จะใช้มาตรการควบคุมแบบใดหรือใ่ช้หลายๆอย่างรวมกัน ทำเต็มร้อย นานๆทำที ทำนั้นทำนี่้ ทำได้
ฺBRC บอกว่าทำเป็น procedure มีเอกสารมาแล้วกัน

อย่าลืมเก็บ ทะเบียนซัพพลายเออร์ บันทึกหลักฐานการอนุมัติ (แล้วแต่ท่านใช้วิธีใด ต้องเก็บหลักฐานไว้ให้หมด)
รวมถึงการจัดการกับปัญหาทั้งหมดที่่มีกับซัพพลายเออร์ จากข้อมูลจากมาตรการควบคุมซัพพลายเออร์ตามที่กล่าวข้างต้อน
ที่สำคัญอย่าลืมว่าต้องมีหลักฐานว่าท่านได้มีการเฝ้าระวังติดตามซัพพลายเออร์เป็นอย่างดี ไม่ว่าบันทึกการตรวจสอบ บันทึกการทดสอบ ผลการประชุม การสรุปผล การreject ต่างๆเป็นต้น


ที่มักจะหลุดกัน คือ ท่านมักไม่ได้ แจ้งบังคับในสัญญากับซัพพลายเออร์ ทำตรวจสอบติดตาม ให้ซัพพลายเออร์/เมคเกอร์ ว่าเมื่อมีการเปลี่ยนกรรมวิธี หรือ องค์ประกอบการผลิตที่อาจมีผลต่อ คุณภาพ ความปลอดภัย กฏหมาย ซัพพลายเออร์ต้องแจ้งท่านโดยทันที โดยเฉพาะหากมีเรื่อง สารก่อภูมิแพ้ หรือ organic หรือ ..... เมื่อท่านไม่ได้บอกให้ซัพพลายเออร์แปลว่าหลุดการควบคุม

การที่ท่านต้องเข้าไปตรวจประเมิน หรือ ต้องส่งแบบสอบถามไป
เป็นส่วนหนึ่งมาตรการทำให้มั่นใจว่า
ระบบสอบย้อนของเมคเกอร์ /ซัพพลายเออร์ยังคงใช้ได้ดีอยู่ กรรมวิธีการผลิต ค่าควบคุมการผลิตยังไม่มีเปลี่ยน สูตรผลิตยังคงเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆที่อาจมีผลต่อความคุณภาพ ปลอดภัยในอาหาร กฏหมาย เป็นต้น
พูดง่ายๆคือ เน้นการตรวจรับอย่างดีไม่เพียงพอครับ ต้องพยายามทำอย่างอื่นด้วย เสี่ยงมากแปรปรวนมากก็ควรไปตรวจประเมินซะ หากเขาได้ใบรับรองBRC แล้วก็ใช้ได้ หรือ อย่างน้อยก็ถามซะหน่อย เป็นต้น ทำอย่างพอเพียงเพื่อให้เพียงพอครับผม


สรุป
จะใช้ มาตรการใด ใช้มาตรการเดี่ยวๆ หรือเอาหลายๆมาตรการมารุม
จะคุมมากคุมน้อยขนาดไหน ก็แล้วแต่ความเสี่ยงของสิ่งที่คุณซื้อมาใส่กระบวนการ จนจบเป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายครับ

แต่แน่ๆ
การอ่าน BRC ให้เข้าใจ และทำตามได้อย่างถูกต้อง
ต้องอ่าน ข้อหลัก ก่อน ข้อย่อย ครับ เหมือนกฏหมายที่มีมาตรา มีวรรค มีตอน ครับ
ต้องอ่านให้เป็นลำดับครับ เพราะแยกกำหนดเป็นเรื่องๆ บางเรือ่งส่งกันบางเรื่องไม่ส่ง
ไม่อย่างนั้น จะอ่านแล้วงง
อย่าลืมว่าแต่ละบริษัทมีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในอาหาร กฏหมาย และคุณภาพต่างกัน
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคมสูงและต้องคุมต้นทุนเป็นอย่างดี เกิดปัญหาขึ้นมาไม่คุ้ม

อ่านดีๆ คุณจะเข้าใจว่าเป็นเรื่อง ของ Maker Control ครับ ไม่ใช่การประเิมินกันแบบ HACCP ครับ
แนะนำให้เข้ารับการอบรม BRC ครับ
มาตรฐาน BRC ดีนะครับ ละเอียดและเข้าใจได้ง่ายๆมั่กๆ
มาคุยกันในงานอบรมของเราสิครับ



ว่าแต่ว่าอ่านจนจบ มีคำตอบไหมนี่
พอดีคุณถามให้ตอบไม่ยาก เลยกล้าตอบ อิอิ
หาก raw mat เป็นเนื้อปู
ท่านมีการไปประเมินโรงงานเขา (ก็ดูเหมือนต้องไปอยู่นะ) ในเรื่อง สภาวะการผลิตที่ถูกสุขลักษณะ (GMP) + มีความเสี่ยงด้าน quality/food safety + การสอบย้อน
ผสมกับ
การใช้ผลตรวจสอบรับรองในห้องปฏิบัติการคุณ
ผสมกับรวมผลตรวจรับ สมรรถนะอื่นๆ

ก็ดูดีนะ ก็ดูดีทีเดียว
คุณน่าจะถามว่า "ส่งแบบสอบถามอย่างเดียวได้ไหม " หรือเวลาประเมินใช้ checklist GMP ทั่วไป ได้ไหม
หรือ เอาคนไม่ได้อยู่สาย food / QA ไป ตรวจได้ไหม ใช้เกณฑ์อะไรดี ในการตรวจ
อันนี้จะตอบยาก มากกกกกกกก
เพราะคนตอบจะมีความเสี่ยงไขมันอุดตันสูงงงงงงงง
อิอิ

อยากรู้เบื้องลึก ต้องคุยกันแคบๆ
ถามแบบกัดกินใจ
ที่แคบๆ คุยกันแบบแคบๆ
เรื่องที่คุยในที่แคบๆ เป็นเรื่องมันส์ๆทั้งนั้นครับ

 

ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์มากๆครับ ผมถามแค่ข้อกำหนดเดียว แต่อาจารย์อุตส่าห์ช่วยตีความ ขยายความ อธิบาย ยกตัวอย่าง ให้ครอบคลุมข้อกำหนด 3.5 ทั้งหมดเลย  เป็นประโยชน์มากๆเลยครับ

ตอนแรกตั้งใจว่าจะถามทีละข้อกำหนดย่อยๆ ของ 3.5 ครับ ผมถือโอกาสรบกวนถามต่อในกระทู้นี้ ในส่วนข้อกำหนดย่อยที่ผมยังไม่เข้าใจครับ

ปล.ผมอบรม BRC แล้วครับ ของบริษัท IQA ครับ

คำถามมีดังนี้ครับ

 

1.อยากรู้เบื้องลึก ต้องคุยกันแคบๆ

ถามแบบกัดกินใจ
ที่แคบๆ คุยกันแบบแคบๆ
เรื่องที่คุยในที่แคบๆ เป็นเรื่องมันส์ๆทั้งนั้นครับ

- ผมต้องทำยังไงครับ หากต้องการรู้เบื้องลึกครับ

2.วัตถุดิบของผลิตภัณฑ์( เนื้อปูพาสเจอร์ไรส์บรรจุกระป๋อง) ผมมีเนื้อปูเป็นวัตถุดิบหลักตัวเดียวครับ แต่มีหลาย Supplier จริงๆก็มีปูต้มทั้งตัวด้วยครับ แต่สุดท้ายก็ต้องเอามาแกะเนื้ออยู่ดี คำถามคือ

   2.1 ในการประเมินความเสี้ยงวัตถุดิบผมสามารถประเมินพร้อมกับความเสี่ยงของ Supplier เลยได้หรือเปล่าครับ หรือผมต้องแยกประเมินความเสี้ยงวัตถุดิบก่อน  หรือจริงๆแล้วมันคือตัวเดียวกัน งงและสับสนครับ

ปัจจุบันผมเอาการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอน Hazard Analysis ของ HACCP Plan มาอ้างอิงว่าเนื้อปูได้รับการประเมินนัยสำคัญของอันตรายทั้ง 4 ด้าน กายภาพ ชีวภาพ เคมี และ Allergen  เป็น Major จึงต้องใช้เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงของ Supplier ดังนี้ คือ

        - ต้องได้รับการรับรอง GMP/HACCP จากกรมประมง

        - ต้องได้รับการทดสอบวัตถุดิบ 3 ด้าน คือ Sensory ชีวภาพ เคมี จาก QA 3 lot ติดต่อกัน  ระดับความเสี่ยงเป็นดังนี้

          1.ความเสี่ยงต่ำ คือ ผ่านการทดสอบ 3 ด้าน 

          2.ความเสี่ยงปานกลางคือ ไม่ผ่านการทดสอบเฉพาะด้านSensory เพียง1 lot

          3.ความเสี่ยงสูง คือ ไม่ผ่านการทดสอบทางด้านชีวภาพและ/หรือทางด้านเคมี 1 lot ขึ้นไป 

แบบนี้ใช้ได้หรือเปล่าครับอาจารย์

3. จากข้อกำหนด 

3.5.4 หากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขอบข่ายการรับรอง นาไปผลิตโดยผู้รับจ้างเหมาช่วง หรือบริษัทอื่น จะต้องมั่นใจว่าการจัดการสอดคล้องกับคุณภาพ ความปลอดภัย และความสอดคล้องทางกฎหมาย

       3.5.4.1 บริษัทต้องแสดงว่าหาก กระบวนการผลิตไปผลิตโดยผู้รับเหมาช่วง ต้องผ่านการแจ้งให้เจ้าของแบรนด์ผลิตภัณฑ์รับทราบและบางกรณีต้องได้รับการอนุมัติก่อน

 

       3.5.4.2 องค์กรต้องมั่นใจว่าผู้รับเหมาช่วงผ่านการอนุมัติ และติดตาม เป็นผลสาเร็จ ไม่ว่าเอกสารการตรวจประเมินหรือ ตรวจประเมินโดยบุคคลที่สามกับ BRC Global

Standard for Food Safety หรือ ตามมาตรฐานอื่นๆที่ GFSI ยอมรับ

 - Q เนื่องด้วยที่บริษัทมีการว่าจ้างแกะปูจากล้งแกะปูภายนอก ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการผลิตส่วนหนึ่งที่นำไปผลิตภายนอก ดังนั้นผมต้อง

         - แจ้งให้ลูกค้าเจ้าของแบรนด์ที่ผลิตรับทราบและทำการอนุมัติก่อน ใช่หรือไม่ครับ ???

         - ล้งแกะปูภายนอกจะต้องไก้รับการรับรองมาตรฐาน BRC ใช่หรือไม่ครับ ???  หากใช่ผมใช้วิธีการไปaudit ล้งแกะปูโดยใช้ checklist ของมาตรฐาน BRC ไป audit แทนได้หรือไม่ครับ

ต้องขอรบกวนอาจารย์และผู้รู้ผู้มีประสบการณ์ท่านอื่นช่วยตอบอีกครั้งด้วยครับ

ตอนนี้กำลังจะขอตรวจรับรอง BRC จะ Pre-Audit ปลายเดือนหน้าครับ 

กำลังสับสนอยู่กับการเขียน Procedure มากๆครับ



#25 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,561 posts
  • Gender:Male

Posted 07 May 2013 - 07:22 PM

ในการตอบคำถามนี้ ได้
ต้องไปอ่านทำความเข้าใจกับเจตนารมณ์ของข้อกำหนด 3.5.1 และ 3.5.1.1 ซึ่งเป็นข้อกำหนดหลัก
ก่อนมาอ่านข้อย่อยที่ 3.5.1.2 นี้ครับ

ข้อกำหนดระบุอย่างไร

3.5.1 Statement of Intent ( เจตนารมณ์ )
กำหนดว่า บริษัทต้องมีระบบในการอนุมัติผู้ส่งมอบและติดตามที่มีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจว่าความเสี่ยงที่มีนัยยะใดๆ จากวัตถุดิบ (รวมถึงบรรจุภัณฑ์) ที่มีผลต่อ ความปลอดภัย, กฎหมาย, คุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้าย ระบบนี้ต้องให้เป็นที่เข้าใจและได้รับการจัดการ

และ

ข้อ 3.5.1.1 Raw material Risk Assess
กำหนดว่า " องค์กรต้องจัด ทำเอกสารการประเมินความเสี่ยงของวัตถุดิบแต่ละตัวหรือแต่ละกลุ่มเป็นเอกสาร เพื่อระบุความเสี่ยงที่มีนัยยะต่อความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ กฎหมาย และคุณภาพ. สิ่งนี้ต้องคำนึงถึงนัยยะจาก ...."


ท่านต้องจำเป็นต้องเข้าใจ เรื่ิองความเสี่ยงของ Raw Material ก่อนครับ
ท่านต้องเริ่มต้นด้วยการประเมินความเสี่ยง วัตถุดิบ ซึ่งหมายความรวม ทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น ส่วนผสมอาหาร วัสดุปรุงแต่ง บรรจุภัณฑ์
ท่านต้องกำหนดความเสี่ยงในแต่ละรายการ แต่ละประเภท กับแต่ละซัพพลายเออร์
ซึ่งท่านต้อวกำหนดประเมินความเสี่ยง ในการกำหนดความเสี่ยงนี้มองสามเรื่อง ทั้ง คุณภาพ กฎหมาย และ ความปลอดภัยในอาหาร ให้ครบทุกมุม (หากหลุดตรงไหน CB เรื่องใด ประเด็นใด)ก็จะใช้ข้อนี้ออกCARครับ


ท่านอ่านไม่ผิดหรอก ต้องประเมินความเสี่ยงต่อรายการและต่อประเภทและ ต่อซัพพลายเออร์ ตามความจำเป็น (อาจจัดกลุ่มบ้างหากกล้อมแกล้มได้)
ในการประเมินความเสี่่ยงนี้

ท่านต้องประเมินว่าในแต่ละรายการ แต่ละผู้ส่งมอบ ทำการพิจารณาว่า มีความเสี่ยง ความรุนแรง โอกาสการเกิด มากหรือน้อย
ซึ่งจะเป็นหลักการการวิเคราะห์ความเสี่ยง แบบ FMEA ไม่ใช่ decision tree


เกณฑ์ทั่วไปที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยง

  • ท่านใช้ปริมาณมาก หรือ ใช้ปริมาณน้อยๆต่อผลิตภัณฑ์หนึ่ง เช่นหากเป็น raw mat หลักของการผลิต คงทำเฉยชาเฉื่อยๆ ฟินๆ คงไม่ได้
  • ประวัติที่เคยใช้กันมา มีปัญหามาก่อนไหม รายงานอาหารเป็นพิษ หรือ food alert
  • สถานที่ของผู้ส่งมอบอยู่ใกล้ อยู่ไก หากอยู่ไกล้ๆไม่ไปเยี่ยมชม ประเมินก็ดูแปลกๆ ว่าไหม หากอยูไกล ใช้นิดเดียว ตะแบงต้องไปประเมินโรงงานเขาก็ตลก ว่าไหม
  • ผลกระทบที่มีต่อผลิตภัณฑ์สุดท้ายมากน้อย ในปริมาณที่ใช้นั้นๆ
  • ความเป็นไปได้ในการทดสอบในห้องปฏิบัติการ
  • ความน่าเชื่อถือของผู้ผลิตนั้นๆ
  • อันตรายที่ทราบที่ สามารถมาตรการการกำจัดในองค์กรทำได้สมบูรณ์หรือไม่ (ไม่ว่า กำจัดหรือลดอันตรายนั้นๆ) ไม่ว่าเป็น kill step/ จุด CCP / oPRP
  • ประวัติการใช้งานกับรายการนี้
  • ความแปรปรวนของกรรมวิธีในการผลิตของซัพพลายเออร์
  • ข้อกำหนดกฎหมาย
* อย่าลืม BRC ไม่ใช่แค่ Food Safety แต่รวมหมดเอาหมด ทั้ง กฏหมาย ความปลอดภัยในอาหาร คุณภาพ


ข้อกำหนดข้อ 3.5.1.1 ยังบอกเราเพิ่มเติมอีกว่า
ในการประเมินความเสี่ยงนี้ นอกจากเรื่องพื้นๆ (การปนเปื้อนสารก่อภูมิแพ้, ∙ ความเสี่ยงสิ่งปนเปื้อนทางกายภาพ, การปนเปื้อนทางจุลชีววิทยา, การปนเปื้อนทางเคมี) ยังต้องมีการประเมินในเรื่อง allergen ,organic , ฮาลาล อาหารคนป่วย, อาหารเด็ก อีก
อย่าลืม เรื่องนี้เป็นการประเมินความเสี่ยงต่อรายการวัตถุดิบแต่ละซัพพลายเออร์
ไม่ใช่ต่อกระบวนการตรวจรับวัตถุดิบชององค์กรคุณ

หลังจากที่ท่านประเมินความเสี่ยงในแต่ละรายการวัตถุดิบ (รวมส่วนผสม บรรจุภัณฑ์ etc) ว่ามีความเสี่ยงมากน้อย
ความเสี่ยงนี้ต้องใช้เป็นพื้นฐานในการในการกำหนด เกณฑ์ วิธีการในการ ตรวจรับ (3.5.2) , เกณฑ์และวิธีการในการอนุมัติและเฝ้าติดตามซัพพลายเออร์ 3.5.1
BRC จะมีรายละเอียดเพิ่มเติม ในเรื่อง การตรวจรับวัตถุดิบบรรจุภัณฑ์ตามข้อ 3.5.2 , การจัดการงานบริการ ตามข้อ 3.5.3 และ การจัดการงานที่เอาร์ซอร์ต ตามข้อ 3.5.4



ข้อกำหนดข้อ 3.5.1.2 Documented Supplier Approval and Monitoring System.







ทุกๆ ซัพพลายเออร์ ต้องสามารถทำตามสเป็คของวัตถุดิบที่ส่งมอบได้ รวมถึงข้อกำหนดทางด้านกฏหมาย คุณภาพ และ ความปลอดภัยในอาหาร. บริษัทจำเป็นต้องมีระเบียบปฏิบัติในการอนุมัติ และ เฝ้าระวังติดตาม เพื่อให้มั่นใจว่า ซัพพลายเออร์นั้น " มีการผลิตผลิตภัณฑ์ภายใต้สภาวะสุขอนามัย, มีการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อคุณภาพและความปลอดภัยของวัตถุดิบและได้มีการปฏิบัติการสอบกลับอย่างมีประสิทธิผล" หรือไม่

ท่านต้องกำหนด มีวิธีและเกณฑ์ สำหรับวิธีการในการอนุมัติ ความถี่ในการเฝ้าติดตาม

ท่านต้องกำหนด ผู้ที่รับผิดชอบและวิธีการจัดการต่างๆ

การอนุมัติ คัดเลือกทำได้หลายหลายวิธี หรือ ใช้วิธีใดวิธีหนึ่งที่กำหนดไว้ก็ได้ ซึ่งอาจหมายถึงหนึ่งมาตรการหรือมากกว่า ( การตรวจประเมินผู้ส่งมอบ การตรวจจากบุคคลที่สาม หรือ ได้รับรองเช่น BRC แบบสอบถามผู้ส่งมอบ) ประเด็นสำคัญในเรื่องนี้คือ ท่านกำหนดไว้ว่าจะใช้วิธีใดอย่างไร มากน้อยต้องขั้นอยู่กับผลการประเมินความเสี่ยง ( ข้อกำหนด 3.5.1.1) ท่านต้องมีระเบียบปฏิบัติทีี่กำหนดเกณฑ์และการเฝ้าระวังติดตามซัพพลายเออร์ที่ท่านได้ใช้อยู่อย่างชัดๆ

อย่าลืมว่าการเฝ้าติดตาม ซัพพลายเออร์ ท่านเฝ้าติดตามเพื่อ " to ensure that suppliers are manufacturing products under hygienic conditions, effectively manage risks to raw material quality and safety and are operating effective traceability processes."

ดังนั้นเกณฑ์หรือวิธีการในการติดตามซัพพลายเออร์ ย่อมไม่ใช่ แค่การไปตรวจโรงงานเขา แบบเด็กๆ ตรวจประเมินกับแบบขอไปที หรือ ส่งแบบสอบถามทั่วไป ปีละครั้ง
สิ่งที่ใช้ในเป็นข้อมูลในการติดตาม อาจหมายถึง มาตรการวิธีที่ใช้ในการควบคุมความเสี่ยงจากวัตถุดิบที่ใช้มักกันทั่วไปเกลื่อนๆ
ท่านใช้ได้หมด รวมๆกัน ตราบใดที่เหมาะสมกับความเสี่ยง ไม่ว่า
  • ตรวจรับเข้าโดย ตรวจสอบด้วยสายตา
  • ทำสุ่มทดสอบในห้องแล็ป
  • การดู COA
  • การตรวจประเมินโรงงานผู้ผลิต
  • กำหนดให้ว่าต้องได้รับการรับรอง BRC Food จาก CB
  • หรือ เบิร์ดๆ ไม่ต้องทำอะไร เพราะความเสี่ยงต่ำๆๆๆๆ ก็ตามสบาย
ความถี่ ความเข้มงวด ความเอาจริงเอาจัง ทุกอย่างอยู่ที่ความเสี่ยง ( กฏหมาย ความปลอดภัย และ คุณภาพ) แน่นอนฟังธง
ให้เอาข้อมูลเห่ลานี้เป็นข้อมูลในการเฝ้าติดตามสมรรถนะของซัพพลายเออร์

ความเสี่ยงของใคร ก็เป็นความเสี่ยงขององค์กรนั้นครับ
จะมากจะน้อย จะควบคุมอย่างไร ไม่เหมือนกันหร็อก
จะใช้มาตรการควบคุมแบบใดหรือใ่ช้หลายๆอย่างรวมกัน ทำเต็มร้อย นานๆทำที ทำนั้นทำนี่้ ทำได้
ฺBRC บอกว่าทำเป็น procedure มีเอกสารมาแล้วกัน

อย่าลืมเก็บ ทะเบียนซัพพลายเออร์ บันทึกหลักฐานการอนุมัติ (แล้วแต่ท่านใช้วิธีใด ต้องเก็บหลักฐานไว้ให้หมด)
รวมถึงการจัดการกับปัญหาทั้งหมดที่่มีกับซัพพลายเออร์ จากข้อมูลจากมาตรการควบคุมซัพพลายเออร์ตามที่กล่าวข้างต้อน
ที่สำคัญอย่าลืมว่าต้องมีหลักฐานว่าท่านได้มีการเฝ้าระวังติดตามซัพพลายเออร์เป็นอย่างดี ไม่ว่าบันทึกการตรวจสอบ บันทึกการทดสอบ ผลการประชุม การสรุปผล การreject ต่างๆเป็นต้น


ที่มักจะหลุดกัน คือ ท่านมักไม่ได้ แจ้งบังคับในสัญญากับซัพพลายเออร์ ทำตรวจสอบติดตาม ให้ซัพพลายเออร์/เมคเกอร์ ว่าเมื่อมีการเปลี่ยนกรรมวิธี หรือ องค์ประกอบการผลิตที่อาจมีผลต่อ คุณภาพ ความปลอดภัย กฏหมาย ซัพพลายเออร์ต้องแจ้งท่านโดยทันที โดยเฉพาะหากมีเรื่อง สารก่อภูมิแพ้ หรือ organic หรือ ..... เมื่อท่านไม่ได้บอกให้ซัพพลายเออร์แปลว่าหลุดการควบคุม

การที่ท่านต้องเข้าไปตรวจประเมิน หรือ ต้องส่งแบบสอบถามไป
เป็นส่วนหนึ่งมาตรการทำให้มั่นใจว่า
ระบบสอบย้อนของเมคเกอร์ /ซัพพลายเออร์ยังคงใช้ได้ดีอยู่ กรรมวิธีการผลิต ค่าควบคุมการผลิตยังไม่มีเปลี่ยน สูตรผลิตยังคงเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆที่อาจมีผลต่อความคุณภาพ ปลอดภัยในอาหาร กฏหมาย เป็นต้น
พูดง่ายๆคือ เน้นการตรวจรับอย่างดีไม่เพียงพอครับ ต้องพยายามทำอย่างอื่นด้วย เสี่ยงมากแปรปรวนมากก็ควรไปตรวจประเมินซะ หากเขาได้ใบรับรองBRC แล้วก็ใช้ได้ หรือ อย่างน้อยก็ถามซะหน่อย เป็นต้น ทำอย่างพอเพียงเพื่อให้เพียงพอครับผม


สรุป
จะใช้ มาตรการใด ใช้มาตรการเดี่ยวๆ หรือเอาหลายๆมาตรการมารุม
จะคุมมากคุมน้อยขนาดไหน ก็แล้วแต่ความเสี่ยงของสิ่งที่คุณซื้อมาใส่กระบวนการ จนจบเป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายครับ

แต่แน่ๆ
การอ่าน BRC ให้เข้าใจ และทำตามได้อย่างถูกต้อง
ต้องอ่าน ข้อหลัก ก่อน ข้อย่อย ครับ เหมือนกฏหมายที่มีมาตรา มีวรรค มีตอน ครับ
ต้องอ่านให้เป็นลำดับครับ เพราะแยกกำหนดเป็นเรื่องๆ บางเรือ่งส่งกันบางเรื่องไม่ส่ง
ไม่อย่างนั้น จะอ่านแล้วงง
อย่าลืมว่าแต่ละบริษัทมีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในอาหาร กฏหมาย และคุณภาพต่างกัน
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคมสูงและต้องคุมต้นทุนเป็นอย่างดี เกิดปัญหาขึ้นมาไม่คุ้ม

อ่านดีๆ คุณจะเข้าใจว่าเป็นเรื่อง ของ Maker Control ครับ ไม่ใช่การประเิมินกันแบบ HACCP ครับ
แนะนำให้เข้ารับการอบรม BRC ครับ
มาตรฐาน BRC ดีนะครับ ละเอียดและเข้าใจได้ง่ายๆมั่กๆ
มาคุยกันในงานอบรมของเราสิครับ



ว่าแต่ว่าอ่านจนจบ มีคำตอบไหมนี่
พอดีคุณถามให้ตอบไม่ยาก เลยกล้าตอบ อิอิ
หาก raw mat เป็นเนื้อปู
ท่านมีการไปประเมินโรงงานเขา (ก็ดูเหมือนต้องไปอยู่นะ) ในเรื่อง สภาวะการผลิตที่ถูกสุขลักษณะ (GMP) + มีความเสี่ยงด้าน quality/food safety + การสอบย้อน
ผสมกับ
การใช้ผลตรวจสอบรับรองในห้องปฏิบัติการคุณ
ผสมกับรวมผลตรวจรับ สมรรถนะอื่นๆ

ก็ดูดีนะ ก็ดูดีทีเดียว
คุณน่าจะถามว่า "ส่งแบบสอบถามอย่างเดียวได้ไหม " หรือเวลาประเมินใช้ checklist GMP ทั่วไป ได้ไหม
หรือ เอาคนไม่ได้อยู่สาย food / QA ไป ตรวจได้ไหม ใช้เกณฑ์อะไรดี ในการตรวจ
อันนี้จะตอบยาก มากกกกกกกก
เพราะคนตอบจะมีความเสี่ยงไขมันอุดตันสูงงงงงงงง
อิอิ

อยากรู้เบื้องลึก ต้องคุยกันแคบๆ
ถามแบบกัดกินใจ
ที่แคบๆ คุยกันแบบแคบๆ
เรื่องที่คุยในที่แคบๆ เป็นเรื่องมันส์ๆทั้งนั้นครับ

 

 

 

 

ขอบคุณครับอาจารย์

 

ด้วยความเคารพ



#26 B.Engineering

B.Engineering

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 29 posts

Posted 10 April 2017 - 06:20 PM

ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์มากๆครับ ผมถามแค่ข้อกำหนดเดียว แต่อาจารย์อุตส่าห์ช่วยตีความ ขยายความ อธิบาย ยกตัวอย่าง ให้ครอบคลุมข้อกำหนด 3.5 ทั้งหมดเลย  เป็นประโยชน์มากๆเลยครับ

ตอนแรกตั้งใจว่าจะถามทีละข้อกำหนดย่อยๆ ของ 3.5 ครับ ผมถือโอกาสรบกวนถามต่อในกระทู้นี้ ในส่วนข้อกำหนดย่อยที่ผมยังไม่เข้าใจครับ

ปล.ผมอบรม BRC แล้วครับ ของบริษัท IQA ครับ

คำถามมีดังนี้ครับ

 

1.อยากรู้เบื้องลึก ต้องคุยกันแคบๆ

ถามแบบกัดกินใจ
ที่แคบๆ คุยกันแบบแคบๆ
เรื่องที่คุยในที่แคบๆ เป็นเรื่องมันส์ๆทั้งนั้นครับ

- ผมต้องทำยังไงครับ หากต้องการรู้เบื้องลึกครับ

2.วัตถุดิบของผลิตภัณฑ์( เนื้อปูพาสเจอร์ไรส์บรรจุกระป๋อง) ผมมีเนื้อปูเป็นวัตถุดิบหลักตัวเดียวครับ แต่มีหลาย Supplier จริงๆก็มีปูต้มทั้งตัวด้วยครับ แต่สุดท้ายก็ต้องเอามาแกะเนื้ออยู่ดี คำถามคือ

   2.1 ในการประเมินความเสี้ยงวัตถุดิบผมสามารถประเมินพร้อมกับความเสี่ยงของ Supplier เลยได้หรือเปล่าครับ หรือผมต้องแยกประเมินความเสี้ยงวัตถุดิบก่อน  หรือจริงๆแล้วมันคือตัวเดียวกัน งงและสับสนครับ

ปัจจุบันผมเอาการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอน Hazard Analysis ของ HACCP Plan มาอ้างอิงว่าเนื้อปูได้รับการประเมินนัยสำคัญของอันตรายทั้ง 4 ด้าน กายภาพ ชีวภาพ เคมี และ Allergen  เป็น Major จึงต้องใช้เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงของ Supplier ดังนี้ คือ

        - ต้องได้รับการรับรอง GMP/HACCP จากกรมประมง

        - ต้องได้รับการทดสอบวัตถุดิบ 3 ด้าน คือ Sensory ชีวภาพ เคมี จาก QA 3 lot ติดต่อกัน  ระดับความเสี่ยงเป็นดังนี้

          1.ความเสี่ยงต่ำ คือ ผ่านการทดสอบ 3 ด้าน 

          2.ความเสี่ยงปานกลางคือ ไม่ผ่านการทดสอบเฉพาะด้านSensory เพียง1 lot

          3.ความเสี่ยงสูง คือ ไม่ผ่านการทดสอบทางด้านชีวภาพและ/หรือทางด้านเคมี 1 lot ขึ้นไป 

แบบนี้ใช้ได้หรือเปล่าครับอาจารย์

3. จากข้อกำหนด 

3.5.4 หากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขอบข่ายการรับรอง นาไปผลิตโดยผู้รับจ้างเหมาช่วง หรือบริษัทอื่น จะต้องมั่นใจว่าการจัดการสอดคล้องกับคุณภาพ ความปลอดภัย และความสอดคล้องทางกฎหมาย

       3.5.4.1 บริษัทต้องแสดงว่าหาก กระบวนการผลิตไปผลิตโดยผู้รับเหมาช่วง ต้องผ่านการแจ้งให้เจ้าของแบรนด์ผลิตภัณฑ์รับทราบและบางกรณีต้องได้รับการอนุมัติก่อน

 

       3.5.4.2 องค์กรต้องมั่นใจว่าผู้รับเหมาช่วงผ่านการอนุมัติ และติดตาม เป็นผลสาเร็จ ไม่ว่าเอกสารการตรวจประเมินหรือ ตรวจประเมินโดยบุคคลที่สามกับ BRC Global

Standard for Food Safety หรือ ตามมาตรฐานอื่นๆที่ GFSI ยอมรับ

 - Q เนื่องด้วยที่บริษัทมีการว่าจ้างแกะปูจากล้งแกะปูภายนอก ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการผลิตส่วนหนึ่งที่นำไปผลิตภายนอก ดังนั้นผมต้อง

         - แจ้งให้ลูกค้าเจ้าของแบรนด์ที่ผลิตรับทราบและทำการอนุมัติก่อน ใช่หรือไม่ครับ ???

         - ล้งแกะปูภายนอกจะต้องไก้รับการรับรองมาตรฐาน BRC ใช่หรือไม่ครับ ???  หากใช่ผมใช้วิธีการไปaudit ล้งแกะปูโดยใช้ checklist ของมาตรฐาน BRC ไป audit แทนได้หรือไม่ครับ

ต้องขอรบกวนอาจารย์และผู้รู้ผู้มีประสบการณ์ท่านอื่นช่วยตอบอีกครั้งด้วยครับ

ตอนนี้กำลังจะขอตรวจรับรอง BRC จะ Pre-Audit ปลายเดือนหน้าครับ 

กำลังสับสนอยู่กับการเขียน Procedure มากๆครับ

พอจะมีตัวอย่างคู่มือ QP WI FM ให้ดูบ้างไหมค่ะ  ตอนนี้กำลังเจอคำถาม และปัญหาเดี๋ยวกันเลย  แต่อ่านของคุณจบแล้ว ก็ยังไม่เข้าใจในระบบ และการจัดทำค่ะ

 

รบกวนด้วยนะคะ

 

ขอบคุณค่ะ






0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users